Page 16 -
P. 16

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                          ครัวเรือนจะมีการปรับขนาดฟารมที่แทจริงใหเทากับขนาดฟารมที่ตองการไดอยางเต็มที่หาก

                                                           ∗
                   ตลาดการเชาที่ดินมีประสิทธิภาพถา A < A  ครัวเรือนจะเชาที่ดินเพิ่มเพื่อขยายขนาดฟารมจนได



                                                                                        ∗
                   ขนาดที่ตองการซึ่งหมายความวาในกรณีนี้ δ → 1 ในทางตรงกันขาม ถา A > A  ครัวเรือนจะใหเชา


                   ที่ดินเพื่อลดขนาดฟารมจนไดขนาดฟารมที่ตองการซึ่งหมายความวาในกรณีนี้ δ → −1 แตหากปรากฏ
                   วาตลาดการเชาที่ดินขาดประสิทธิภาพ (มีตนทุนทางธุรกรรม) ครัวเรือนจะไมสามารถปรับขนาดฟารมได
                   ตามที่ตองการ นั่นหมายความวา 0 < δ < 1 ในกรณีที่ครัวเรือนเปนผูเชาที่ดิน และ −1 < δ < 0
                   ในกรณีที่ครัวเรือนเปนผูใหเชาที่ดิน สังเกตไดวายิ่ง δ มีคาใกล 1 (กรณีเปนผูเชา) หรือ -1 (กรณีเปนผูให

                   เชา) ก็แสดงวาตลาดการเชาที่ดินมีประสิทธิภาพมากขึ้น

                   3.2 ขอมูลที่ใชในการศึกษา

                          งานวิจัยนี้ใชขอมูลครัวเรือนแบบตอเนื่อง (balanced  panel  data)  จากการสํารวจครัวเรือน

                   ชนบทในประเทศไทยของ Townsend  Thai  Project  ตั้งแตป ค.ศ.2000-2013 โดยเลือกศึกษาเฉพาะ

                   ครัวเรือนเกษตรที่มีการทําการเกษตรตอเนื่องทุกปในชวงเวลาดังกลาวจํานวนทั้งสิ้น 384 ครัวเรือน (ในแต
                   ละป) รวม 4,992 ตัวอยาง ในพื้นที่ 4 จังหวัด ไดแก ลพบุรี ฉะเชิงเทรา บุรีรัมย ศรีสะเกษ การสุมเลือก

                   กลุมตัวอยางทําโดยการเลือก 12 ตําบลจากแตละจังหวัด จากนั้นจึงสุมเลือกเอา 4 หมูบานจากแตละ

                   ตําบลที่เลือกมา ถึงแมวาขอมูลจาก Townsend Thai Project จะไมไดเก็บจากทุกจังหวัดในประเทศไทย
                   แตความแตกตางของครัวเรือนในแตละพื้นที่ที่มีการเก็บแบบสอบถามนั้นคอนขางชัดเจน กลาวคือ พื้นที่

                   บริเวณภาคกลางและภาคอีสานมีความแตกตางของครัวเรือนอยางชัดเจนไมเฉพาะแคในดานทรัพยสินและ

                   รายไดแตยังรวมถืงคุณภาพของดินที่ใชทําการเกษตรและสภาพสิ่งแวดลอมอื่นๆ นอกจากนี้ ในทุกๆ
                   จังหวัดที่มีการเก็บขอมูลนั้นจะตองมีหนึ่งอําเภอซึ่งเปนอําเภอเดียวกับที่ทางสํานักงานสถิติแหงชาติใชใน

                   การเก็บขอมูลเศรษฐกิจและสังคมครัวเรือนเปนประจําทุกป (Thai  Household  Socio-Economic

                   Survey)  ดังนั้นขอมูลของ Townsend  จึงนาจะสะทอนถึงขอมูลครัวเรือนของไทยไดในภาพรวมไดดีใน
                   ระดับหนึ่ง


                          ครัวเรือนจะถูกแบงเปน 3 ประเภทตามสถานะของแตละครัวเรือนในตลาดเชาที่ดิน ไดแก
                   ครัวเรือนที่มีการเชาที่ดินทําการเกษตร (Renting-in) ครัวเรือนที่ใหผูอื่นเชาที่ดินของตนเองทําการเกษตร

                   (Renting-out)  และครัวเรือนที่ไมไดเชาที่ดินหรือปลอยเชาที่ดิน (Autarky) ในกรณีที่ครัวเรือนมีทั้งเชา

                   ที่ดินและปลอยเชาที่ดิน จะทําการพิจารณาวาพื้นที่เชาที่ดินหรือพื้นที่ปลอยเชาที่ดินอันไหนที่มากกวากัน
                   ถาพื้นที่เชาที่ดินมากกวาพื้นที่ปลอยใหคนอื่นเชา ใหถือวาครัวเรือนนั้นเปนครัวเรือนที่มีการเชาที่ดินใน

                   ฐานะผูเชา (Tenants)  แตถาพื้นที่เชาที่ดินนอยกวาพื้นที่ปลอยใหคนอื่นเชา ใหถือวาครัวเรือนนั้นเปน

                   ครัวเรือนที่เปนเจาของที่ดินปลอยใหคนอื่นเชาในฐานะเจาของที่ดิน (Landlords)

                          นอกจากนี้ จะมีการนําขอมูลเชิงลึกที่ไดจากการสัมภาษณรายบุคคลและจากการจัดสัมมนาระดม

                   ความคิดเห็นซึ่งไดเชิญนักวิชาการขาราชการ ตลอดจนตัวแทนภาคเอกชนที่มีความรูความชํานาญเกี่ยวกับ







                                                             3-3
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21