Page 11 -
P. 11

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                          ตลาดการเชาที่ดินชวยลดความไมเทาเทียมในการถือครองที่ดินของครัวเรือน โดยชวยใหครัวเรือน

                   ที่มีสัดสวนที่ดินตอแรงงานในครัวเรือนนอยสามารถเพิ่มพื้นที่เพาะปลูกเพื่อขยายปริมาณการผลิต
                   นอกจากนี้ ตลาดการเชาที่ดินยังชวยเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตโดยการโอนยายการใชที่ดินจากเกษตกร

                   รายใหญที่มีประสิทธิภาพในการผลิตต่ํามาสูเกษตรกรรายยอยที่มีประสิทธิภาพในการผลิตสูงกวาอีกดวย

                   (Feder et al., 1988a; Do and Iyer, 2004) และที่สําคัญ การเชาที่ดินสงผลใหรายไดสุทธิของครัวเรือน
                   เพิ่มขึ้น แตสัดสวนของรายไดสุทธิที่เพิ่มขึ้นอาจจะไมสูงมากนัก ดังนั้นการอาศัยกลไกของตลาดเชาที่ดิน

                   เพียงอยางเดียวคงไมเพียงพอที่จะชวยแกปญหาความยากจนของครัวเรือนชนบทได (Jin  and  Jayne

                   2013; Chamberlin and Ricker-Gilbert, 2015) นอกจากนี้ ผลลัพธของตลาดเชาหรือซื้อขายที่ดินตอ
                   การพัฒนาเศรษฐกิจครัวเรือนในชนบทของแตละประเทศอาจใหผลตางกันเพราะบริบทที่แตกตางกัน

                   หลายๆ อยาง อาทิ เชน ปญหาความไมเทาเทียมในการถือครองที่ดิน ปญหาจากการแทรกแซงตลาดสินคา

                   เกษตรโดยรัฐบาลอยางตอเนื่อง ปญหาจากความออนแอของกฎหมายเรื่องกรรมสิทธิ์ และปญหาความ
                   ยากลําบากในการหางานทํานอกเหนือภาคเกษตรกรรมสําหรับประชาชนในเขตชนบท (Reardon et al.,

                   2001)

                          อยางไรก็ตาม หากเกษตรกรไมสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนก็อาจเปนไปไดวาเกษตรกรไมสามารถ

                   ขยายพื้นที่เพาะปลูกไดแมวาตลาดการเชาซื้อที่ดินจะสมบูรณ ในกรณีนี้ ความสามารถในการขยายพื้นที่

                   เพาะปลูกใหเหมาะสมจะขึ้นอยูกับมูลคาสินทรัพยและขนาดที่ดินที่ครอบครองอยูแลว (Deininger  and
                   Jin, 2008b) ภายใตขอจํากัดดานเงินทุนนี้เอง นอกจากตลาดที่ดินจะไมชวยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแลว

                   ยังอาจะสงผลใหเกิดการกระจุกตัวของที่ดินอยูที่กลุมคนเพียงไมกี่กลุม (Echenique  and  Rolando,

                   1991; Carter and Salgado, 2001) แมวาการขาดแคลนเงินทุนหรือการเขาถึงแหลงทุนจะเปนอุปสรรค
                   ตอการการขยายพื้นที่เพาะปลูกของครัวเรือนทั้งดวยวิธีการซื้อหรือเชาที่ดิน แตปญหาดังกลาวจะมีความ

                   รุนแรงมากกวาในกรณีการซื้อที่ดินเมื่อเทียบกับกรณีการเชาที่ดินเพราะการเชาที่ใชเงินนอยกวาการซื้อ

                   ที่มากและวิธีการชําระคาเชาก็มีหลายรูปแบบซึ่งรวมถึงชะลอการชําระคาเชาดวยเงินสดจนกระทั่ง
                   ภายหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิต (Deininger  and  Jin,  2009) และการชําระคาเชาดวยผลผลิตในรูปของ

                   สัญญารวม (share contract) (Hayami and Otsuka 1993) ที่นาสนใจคือ ตลาดการเชาที่ดินสงผลให

                   สัดสวนแรงงานตอที่ดินของแตละครัวเรือนเทากันและลดความไมเทาเทียมกันในการถือครองที่ดินแมวา
                   ผลกระทบจากตลาดการซื้อขายที่ดินจะใหผลตรงกันขาม (Pender  and  Fafchamps  2006;  Migot-

                   Adholla  et  al.  1994;  Andre  and  Platteau  1998;  Holden,  Kaarhus,  and  Lunduka  2006)

                   นอกจากนี้ ผลลัพธของตลาดเชาหรือซื้อขายที่ดินตอการพัฒนาเศรษฐกิจครัวเรือนในชนบทของแตละ
                   ประเทศอาจใหผลตางกันเพราะบริบทที่แตกตางกันหลายๆ อยาง อาทิ เชน ปญหาความไมเทาเทียมใน

                   การถือครองที่ดิน ปญหาจากการแทรกแซงตลาดสินคาเกษตรโดยรัฐบาลอยางตอเนื่อง ปญหาจากความ

                   ออนแอของกฎหมายเรื่องกรรมสิทธิ์ และปญหาความยากลําบากในการหางานทํานอกเหนือภาค
                   เกษตรกรรมสําหรับประชาชนในเขตชนบท (Reardon et al., 2001)







                                                             2-2
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16