Page 6 -
P. 6

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว







                                                              บทที่ 1
                                                               บทนํา



                     1.1 ที่มาและความสําคัญ

                          แมวาบทบาทของภาคการเกษตรในเชิงมูลคาทางเศรษฐกิจจะลดลงแตภาคเกษตรยังคงเปนแหลง

                   รองรับแรงงานจํานวนมาก เฉพาะครัวเรือนเกษตรเองก็มีมากถึง 4 ลานครัวเรือน  อยางไรก็ตาม เกษตรกร

                   จํานวนไมนอยตองประสบปญหาการขาดแคลนที่ดินทํากินและตกอยูในภาวะยากจน ในอดีตนั้น การเชา
                   ที่ดินทํากินทําไดอยางจํากัดเนื่องจากที่ดินจํานวนมากกระจุกตัวอยูในมือนายทุนเพียงไมกี่ราย รัฐบาลได

                   เขามาแกปญหาดังกลาวโดยการนําที่ดินของรัฐไปจัดสรรใหประชาชนไดใชเปนที่ทํากินโดยมีสํานักงานการ

                   ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.) เปนผูรับผิดชอบดูแล ทั้งนี้ นับตั้งแตเริ่มกอตั้งในป พ.ศ.2518 เปน
                   ตนมาจนถึงปจจุบัน ส.ป.ก. ไดมีการจัดสรรที่ดินทํากินใหเกษตรกรอยางตอเนื่องรวมแลวกวา 35 ลานไร

                   (ศูนยขอมูลขาวสาร ส.ป.ก. 2560) ซึ่งเปนตัวเลขที่สูงมากเมื่อเทียบกับพื้นที่ทําการเกษตรทั้งประเทศ

                   จํานวน 116 ลานไร (สํามะโนการเกษตร พ.ศ.2556 สํานักงานสถิติแหงชาติ) อยางไรก็ตาม จํานวนที่ดินที่
                   ส.ป.ก. ไดจัดสรรใหแตละครัวเรือนมีจํานวนจํากัด ดังนั้นที่ดินที่ถูกจัดสรรอาจไมเพียงพอตอการทําเกษตร

                   เพื่อเลี้ยงครัวเรือน อีกทั้งที่ดินที่ถูกจัดสรรก็มีขอจํากัดทางกายภาพหลายประการ เชน ที่ดินที่เดิมเคยเปน

                   ปาเสื่อมโทรมจะมีคุณภาพของดินที่ไมคอยเหมาะสมกับการเพาะปลูก ที่ตั้งของที่ดินเสี่ยงตอภัยธรรมชาติ
                   และขาดแคลนระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน เปนตน ขอจํากัดเหลานี้สงผลใหเกษตรกรจํานวนไมนอย

                   ยังคงตองอาศัยการเชาที่ดินเพื่อทําการเกษตร

                          ปญหาการไรที่ดินทํากินของเกษตรกรเกิดจากหลายสาเหตุซึ่งลวนแลวแตมีความเกี่ยวโยงกับกลไก

                   ทางเศรษฐกิจอื่นๆ อยางมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีปญหาการกระจุกตัวของที่ดินในมือคนกลุมนอยอัน

                   เปนผลสืบเนื่องจากความเหลื่อมล้ําทางรายไดของคนไทยนั่นเอง (อดิศร อิศรางกูร ณ อยุธยา และบัณฑูร
                   เศรษฐศิโรตน 2553) การขยายตัวของเขตชุมชนเมืองและภาคเศรษฐกิจสาขาอื่น (ไดแก ภาคอุตสาหกรรม

                   ภาคพาณิชยกรรม และภาคบริการ) เปนอีกหนึ่งปจจัยที่สงผลใหเกษตรกรจํานวนมากตองเผชิญกับปญหา

                   การไรที่ดินทํากิน นอกจากนี้ อัตราภาษีที่ดินกรณีที่ดินรกรางวางเปลาที่ถูกกําหนดไวคอนขางต่ํา และ
                   พระราชบัญญัติการเชาที่ดินเกษตกรรมซึ่งเอื้อประโยชนกับผูเชามากเกินไป ก็ลวนสงผลใหเจาของที่ดิน

                   ขาดแรงจูงใจที่จะใหเชาที่ดินและอาจเลือกปลอยทิ้งใหเปนที่ดินรกรางแทน  (Boonyanam,  2016) จาก

                   รายงานของสํานักงบประมาณ พ.ศ.2542 พบวา ราษฎรที่ไมมีที่ดินทํากินของตนเองมีจํานวน 546,942
                   ครัวเรือน และจากการขึ้นทะเบียนคนจนในป พ.ศ.2547 พบวา ผูที่มาลงทะเบียนเปนผูที่ไมมีที่ดินทํากิน

                   รวม 1,003,360 ราย เปนผูเชาที่ดิน 378,077  ราย ยืมผูอื่นทํากิน 314,090 ราย และเปนผูรับจางทํา

                   การเกษตรจํานวน 311,193 ราย นอกจากนี้ ยังมีผูที่มีที่ดินทํากินแตไมพอเพียงและตองการที่ดินทํากิน
                   เพิ่มอีก 1,651,922 ราย รวมผูที่มาลงทะเบียนที่ไมมีที่ดินทํากินหรือมีที่ดินทํากินแตไมเพียงพอทั้งสิ้น

                   จํานวน 2,955,282 ราย สถิติดังกลาวชี้ใหเห็นถึงปญหาการขาดแคลนที่ดินทํากินในประเทศไทยไดอยาง






                                                             1-1
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11