Page 8 -
P. 8
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
500 ไร) การเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลใหพื้นที่ทําการเกษตรของฟารมขนาดกลาง (20-59 ไร) การลดลง
อยางมากของที่ดินเชาเกิดจากหลายปจจัย เชน สิทธิประโยชนจากทั้งโครงการรับจํานําสินคาเกษตรและ
ประกันรายไดเกษตรกรถูกผูกไวกับสิทธิการถือครองที่ดิน อีกทั้งการทําเกษตรในปจจุบันไมจําเปนตองใช
แรงงานครัวเรือนอีกตอไป เจาของที่สามารถทําการผลิตไดโดยอาศัยการจางแรงงานและเครื่องจักรกลเปน
หลัก ปจจัยเหลานี้เปนแรงจูงใจใหเจาของที่นําที่ดินที่เดิมเคยปลอยเชากลับมาทําเองหรือมีการปรับเพิ่มคา
เชาใหสูงขึ้น ในสถานการณเชนนี้จึงนาสนใจเปนอยางยิ่งวาเกษตรกรซึ่งอาศัยที่ดินเชาเปนแหลงทํามาหา
กินจะมีการปรับตัวอยางไร และการเชาที่ดินที่หาไดยากขึ้นและคาเชาที่สูงขึ้นจะสงผลตอรายไดอยางไร
ในภาวะที่ภาคเกษตรตองเผชิญกับการแยงชิงที่ดินจากการขยายตัวของภาคอื่นๆ และแนวโนม
การทําเกษตรบนที่ดินเจาของที่สูงขึ้นเชนนี้ เกษตรกรที่เดิมเคยอาศัยการเชาที่ดินเพื่อทําการเกษตรตอง
ประสบปญหาการขาดแคลนที่ดินทํากินอยางหลีกเลี่ยงไมได ในขณะที่เกษตรกรที่เปนเจาของที่ดินอาจขาด
ประสิทธิภาพในการผลิตเนื่องจากมีสัดสวนที่ดินตอแรงงานที่สูงเกินไป การเพิ่มประสิทธิภาพกลไกการ
ทํางานของตลาดเชาที่ดินจะมีบทบาทอยางมากตอการลดความเหลื่อมล้ําในการถือครองที่ดิน การเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต ตลอดจนการยกระดับรายไดของเกษตรกร แตเนื่องจากโครงสรางทางเศรษฐกิจของ
แตละประเทศที่แตกตางกันอาจทําใหบทบาทของตลาดเชาที่ดินตอการพัฒนาเศรษฐกิจครัวเรือนแตกตาง
กันดวย มีคําถามที่นาสนใจอยางนอย 2 คําถาม คําถามแรก คือ การเขารวมในตลาดเชาที่ดินของ
เกษตรกรทั้งในฐานะผูเชาและผูใหเชามีอุปสรรคมากนอยแคไหน เพราะในบางกรณี ตนทุนทางธุรกรรมที่
สูงทําใหเกษตรกรขาดแรงจูงใจในการเชาหรือปลอยเชาที่ดิน คําถามที่สอง คือ การเชาที่ดินทําใหชีวิต
ความเปนอยูของเกษตรกรดีขึ้นจริงหรือไม เพราะแมวาเกษตรกรสามารถเขาถึงตลาดเชาที่ดินได แตก็อาจ
เปนไปไดวาการเชาที่ดินไมไดชวยใหรายไดสุทธิของเกษตรกรเพิ่มขึ้น สาเหตุอาจมาจากการเกษตรไทย
ไมไดเนนใชแรงงานครัวเรือนเหมือนในอดีต การขยายการผลิตเปนการจางแรงงานและเครื่องจักร ดังนั้น
ผลิตภาพการผลิตและผลิตภาพทางกําไรจึงอาจไมเกิดขึ้นขอสมมติฐานในขางตน สอดคลองกับสภาพทาง
สังคมของไทยในปจจุบัน ที่สัดสวนของผูสูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งหัวหนาครัวเรือนเกษตร
เชนเดียวกัน การเชาที่ดินอาจไมสามารถชวยเพิ่มรายไดสุทธิของครัวเรือนไดหากขนาดที่ดินเชาเล็กเกินไป
หรืออยูกระจัดกระจายกัน สงผลใหการประหยัดตอขนาดและการประหยัดจากการใชปจจัยรวมไมเกิดขึ้น
1.2 วัตถุประสงคในการวิจัย
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ (1) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงขนาดการถือครองที่ดินและลักษณะ
การใชประโยชนจากที่ดินของครัวเรือนเกษตรในประเทศไทยจากอดีตจนถึงปจจุบัน (2) ศึกษาถึงปจจัยที่
สงผลตอการตัดสินใจเชาที่ดินทางการเกษตรของเกษตรกร (3) ศึกษาถึงผลกระทบของการเชาหรือใหเชา
ที่ดินตอตอสวัสดิการทางเศรษฐศาสตรของครัวเรือน ซึ่งวัดในรูปของรายไดสุทธิจากการเกษตร รายไดสุทธิ
นอกภาคเกษตร และรายไดสุทธิรวม โดยมีสมมติฐานวาตลาดการเชาที่ดินถูกขับเคลื่อนโดยความแตกตาง
ดานความสามารถในการผลิตของแตละครัวเรือน ความไมสมบูรณของตลาดแรงงานในแงที่วาการควบคุม
1-3