Page 7 -
P. 7

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                   ชัดเจน ซึ่งนําไปสูปญหาความยากจนและปญหาทางสังคมดานอื่นๆ อยางไรก็ตาม ภาครัฐเองก็ไมสามารถ

                   นําที่ดินซึ่งมีจํานวนจํากัดมาจัดสรรใหประชาชนไดตลอดไป ดังนั้นบทบาทของตลาดเชาที่ดินตอภาค
                   เกษตรไทยจึงมีความนาสนใจอยางยิ่ง


                          นอกจากการสูญเสียที่ดินใหกับการขยายตัวของภาคเศรษฐกิจสาขาอื่นๆ แลว การแขงขันแยงชิง
                   ที่ดินภายในภาคเกษตรเองก็สงผลใหโครงสรางของภาคเกษตรเกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายๆ มิติ ระหวาง

                   ป พ.ศ.2546 และ พ.ศ.2556 พบวา เนื้อที่ทําการเกษตรทั้งประเทศเพิ่มขึ้นราว 3.9 ลานไร  (สํามะโน

                   การเกษตร พ.ศ.2546 และ พ.ศ.2556 สํานักงานสถิติแหงชาติ) ซึ่งแมวาจะไมสูงมากแตลักษณะการใช
                   ที่ดินเกษตรเปลี่ยนไปอยางมาก เกษตรกรจํานวนมากหันมาเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจเปนหลักและลดการทํา

                   เกษตรรูปแบบอื่นลง โดยเนื้อที่ทําการเพาะปลูกเพิ่มขึ้นสูงถึงเกือบ 30 ลานไร สาเหตุเปนเพราะใน

                   ชวงเวลานี้รัฐบาลไดมีการแทรกแซงราคาสินคาเกษตรอยางตอเนื่องทั้งในรูปของโครงการรับจํานําสินคา
                   เกษตรและประกันรายไดเกษตรกร ซึ่งเปนแรงจูงใจที่สําคัญในการขยายพื้นที่เพาะปลูกของเกษตรกร


                   ตาราง 1.1 เนื้อที่ทําการเกษตรที่เปนเจาของและที่ดินเชาจําแนกตามขนาดฟารม (หนวย: ไร)

                     ขนาด                   ป 2546                   ป 2556            เปลี่ยนแปลง
                   ฟารม (ไร)     เจาของ         เชา       เจาของ         เชา     เจาของ         เชา

                    Below 2       205,088       11,906       192,762       6,694      -12,326       -5,212

                     2 - 5      3,164,472      419,959     3,257,337     241,008       92,865     -178,951

                     6 - 9      4,909,760      684,913     5,172,052     419,314      262,292     -265,599
                    10 - 19    17,548,870    2,857,858  18,430,082  1,772,708         881,212  -1,085,150

                    20 - 39    27,463,755    5,982,321  30,470,654  4,293,665  3,006,899  -1,688,656

                    40 - 59    13,495,126    4,026,371  15,942,618  3,230,771  2,447,492          -795,600
                    60 - 139  12,019,325     5,113,771  13,979,765  3,821,174  1,960,440  -1,292,597

                   140 - 499    3,418,940    1,899,180     3,697,023  1,270,999       278,083     -628,181

                   Over 500     2,191,992      506,804     1,233,939     282,012     -958,053     -224,792
                    รวม         84,417,328   21,503,083    92,376,232   15,338,345    7,958,904   -6,164,738
                   ที่มา: สํามะโนการเกษตร สํานักงานสถิติแหงชาติ พ.ศ.2546 และ 2556



                          การขยายตัวของพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจเกิดขึ้นพรอมๆ กับการนําที่ดินปลอยเชากลับมาทํา
                   เอง สงผลใหฟารมขนาดกลางมีจํานวนเพิ่มขึ้น จากตาราง 1.1 จะไดเห็นวาพื้นที่เชาในภาคเกษตรลดลง

                   กวา 6 ลานไร ระหวางป พ.ศ.2546 ถึง 2556 ในขณะที่การทําเกษตรบนที่ดินเจาของเพิ่มขึ้นเกือบ 8 ลาน

                   ไร สัดสวนที่ดินเชาเทียบกับที่ดินเจาของใน พ.ศ.2556 เทากับ 0.16 ลดลงจากเดิม 0.25 ในป พ.ศ.2546
                   ที่นาสนใจคือการทําเกษตรบนที่ดินเชาลดลงในทุกๆ ขนาดฟารม ในขณะที่การทําเกษตรบนที่ดินตนเอง

                   เพิ่มขึ้นเกือบทั้งหมด ยกเวนกรณีฟารมขนาดเล็กมาก (ต่ํากวา 2 ไร) และฟารมขนาดใหญมาก (สูงกวา







                                                             1-2
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12