Page 10 -
P. 10

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                           บทที่ 2

                                                   ทบทวนงานวิจัยที่เกี่ยวของ



                          ในประเทศกําลังพัฒนานั้น เปนที่ยอมรับกันทั่วไปวาที่ดินเปนสินทรัพยและปจจัยการผลิตทาง
                   การเกษตรที่สําคัญตอครัวเรือน โดยเฉพาะอยางยิ่งครัวเรือนในเขตชนบท นอกจากนี้ พบวาลักษณะการ

                   ถือครอง การไดมา ตลอดจนการซื้อขายแลกเปลี่ยนที่ดินของครัวเรือนลวนมีบทบาทตอประสิทธิภาพการ

                   ผลิต ความเทาเทียมในการถือครองที่ดิน ตลอดจนการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Jin and Jayne, 2013) เมื่อ
                   เกษตรกรมีกรรมสิทธิ์ที่ดินอยางถาวร ตลาดการซื้อขายและเชาที่ดินจะเติบโตเนื่องจากเกษตรกรสามารถ

                   ทําการซื้อขายหรือใหเชาที่ดินที่ตนเปนเจาของไดอยางอิสระ และตลาดการเชาที่ดินนี้เองที่เปนกลไกสําคัญ

                   ตอการพัฒนาเศรษฐกิจครัวเรือนโดยเฉพาะครัวเรือนขนาดเล็กที่มีพื้นที่ทํากินนอย (Deininger and Jin,
                   2008a; Holden et al. 2009; Otsuka, and Place, 2009) ดังนั้นจึงเปนที่นาสนใจวามีปจจัยใดบางที่

                   สงผลตอการตัดสินใจเชาหรือใหเชาที่ดินของเกษตรกร รวมถึงบทบาทของตลาดที่ดินตอการลดความไม

                   เทาเทียมในการถือครองที่ดิน ประสิทธิภาพการผลิต และตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจของครัวเรือน คําตอบตอ
                   คําถามดังกลาวขึ้นอยูกับวากลไกของตลาดปจจัจยการผลิตอื่นๆ ทํางานไดสมบูรณแคไหน หากตลาด

                   เหลานี้มีการบิดเบือน ก็ยอมจะสงผลกระทบตอการตัดสินใจของเกษตรกรในตลาดเชาที่ดิน

                          ในบริบทของประเทศกําลังพัฒนานั้น พบวา จํานวนที่ดินที่ถือครองไมสงผลกระทบตอ

                   ประสิทธิภาพการผลิตและความเทาเทียมหากตลาดปจจัยการผลิตอื่นๆ ที่เกี่ยวของสามารถขับเคลื่อนได

                   อยางความสมบูรณและเทคโนโลยีการผลิตเปนแบบผลตอบแทนคงที่ (Constant-returns-to-scale
                   production technology) (Feder 1985; Bardhan and Urdy 1999) ในกรณีดังกลาว สัดสวนแรงงาน

                   ตอพื้นที่เพาะปลูก ผลผลิตตอไร และผลผลิตตอหนวยการใชแรงงาน จะเทากันแมกระทั่งในกรณีที่ไมมี

                   ตลาดการเชาซื้อที่ดิน แตในความเปนจริงพบวาทั้งตลาดแรงงานและตลาดปจจัยการผลิตอื่นๆ
                   นอกเหนือจากที่ดินไมสามารถขับเคลื่อนไดอยางสมบูรณ (De  Janvry,  Fafchamps,  and  Sadoulet

                   1991) เมื่อตลาดแรงงานที่ไมสมบูรณครัวเรือนจะใชแรงงานในครัวเรือนมากกวาแรงงานจางเพื่อหลีกเลี่ยง

                   ปญหาอันเกิดจากการที่นายจางและลูกจางมีแรงจูงใจในการทํางานที่แตกตางกัน (principle-agent
                   problem) ที่เปนเชนนี้เพราะแรงงานจางมีแรงจูงใจที่จะตั้งใจทํางานนอยกวาแรงงานในครัวเรือนและการ

                   ควบคุมดูแลแรงงานจางโดยนายจางทําไดยากหรือมีคาใชจายสูง (Eswaran  and  Kotwol1985;

                   Binswanger  and  Rosenzweig1986) ในกรณีดังกลาวเกษตรกรรายยอยจึงมีประสิทธิภาพในการผลิต
                   มากกวาเกษตรกรรายใหญซึ่งสอดคลองกับหลักการที่เปนที่ยอมรับกันทั่วไปวาประสิทธิภาพในการผลิตกับ

                   ขนาดฟารมมีความสัมพันธแบบผกผันหากตลาดปจจัยการผลิตอื่นไมสมบูรณ (Bardhan1973; Berry and

                   Cline 1979; Carter 1984;Gavian and Fafchamps1996)











                                                             2-1
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15