Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        16





                     ในสวนนี้เพิ่มขึ้น เพราะที่ดอนมักจะมีวัชพืชมากกวาที่ลุม  ปจจุบันเนื้อที่ที่ใชปลูกขาวไรในจังหวัด
                     อุบลราชธานี มีจํานวนนอยและเกษตรกรไมนิยมปลูกแลว แตจะหันไปปลูกพืชเศรษฐกิจอื่น

                     ทดแทนเพื่อเปนรายไดเสริม
                            2.2.2 การปลูกขาวนาดํา

                            การปกดําเปนการปลูกแบบดั้งเดิมและเปนวิธีที่นิยมมากที่สุด ซึ่งวิธีการปลูกแบงออกได
                     เปน 2 ตอน ตอนแรก ไดแก การตกกลาในแปลงขนาดเล็ก และตอนที่สอง ไดแก การถอนตนกลา

                     เอาไปปกดําในนาผืนใหญ
                            1) การเตรียมดินตองทําการเตรียมดินใหดีกวา การปลูกขาวไร โดยมีการไถดะ การไถ

                     แปร และการคราด ปกติการไถและคราดในนาดํามักจะใชแรง วัว ควาย หรือแทรกเตอรขนาดเล็ก
                     ที่เรียกวา ควายเหล็กหรือไถยนตเดินตาม ทั้งนี้เปนเพราะพื้นที่นาดํานั้น ไดมีคันนาแบงกั้น

                     ออกเปนแปลงเล็กๆ ขนาด 1-2 ไร คันนามีไวสําหรับกักเก็บน้ํา หรือปลอยน้ําทิ้งจากแปลงนา นา
                     ดําจึงมีการบังคับระดับน้ําในนาไดบางพอสมควร กอนที่จะทําการไถ ตองรอใหดินมีความชื้น

                     พอที่จะไถไดเสียกอน ปกติจะตองรอใหฝนตก จนมีน้ําขังในผืนนา หรือไขน้ําเขาไปในนา เพื่อทํา
                     ใหดินเปยก การไถดะ หมายถึง การไถครั้งแรกเพื่อทําลายวัชพืชในนา และพลิกกลับหนาดิน แลว

                     ปลอยทิ้งไวประมาณ 1 สัปดาห จึงทําการไถแปร ซึ่งหมายถึง การไถเพื่อตัดกับรอยไถดะ ทําให
                     รอยไถดะแตกออกเปนกอนเล็กๆ จนวัชพืชหลุดออกจากดิน การไถแปรอาจไถมากกวาหนึ่งครั้ง

                     ทั้งนี้ขึ้นอยูกับระดับน้ําในนา ตลอดถึงชนิดและปริมาณของวัชพืช เมื่อไถแปรแลวก็ทําการคราดได
                     ทันที การคราด คือ การคราดเอาวัชพืชออกจากผืนนา และปรับพื้นที่นาใหไดระดับเปนที่ราบเสมอ

                     กัน ดวยนาที่มีระดับ เปนที่ราบ ตนขาวจะไดรับน้ําเทาๆ กัน และสะดวกแกการไขน้ําเขาออก






















                                                       ภาพที่ 2.2  การไถเตรียมดิน
                                                            ที่มา: ออนไลน
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49