Page 43 -
P. 43

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        15





                     เกษตรกร 2554 ไดนําเสนอไววา “การเกษตรเปนแหลงความมั่นคงทางอาหารเปนฐานทาง
                     เศรษฐกิจและอาชีพหลักของครัวเรือนชนบท เกษตรกรจํานวนมาก มีรายไดต่ํามีฐานะยากจน ตก

                     อยูในภาวะเปนหนี้สิน การผลิตของเกษตรกรประสิทธิภาพการผลิตตํ่าและขาดเทคโนโลยีสมัยใหม
                     ในกระบวนการผลิตทําใหมีตนทุนสูงการผลิตสวนใหญยังตองพึ่งพากับสภาพธรรมชาติเปนปจจัย

                     สําคัญเกษตรกรจํานวนไมนอยขาดแคลนที่ดินทํากินและรวมถึงการสูญเสียที่ดินทํากิน”ทําให
                     เกษตรกรมีรายไดไมเพียงพอ”

                            ปญหาพื้นฐานจากขอมูลทุติยภูมิของเกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี ที่พบเห็นจึงเปน
                     ปญหาที่สอดคลองกับนักวิชาการอาวุโสของสถาบันคลังสมองของชาติกลาวไว โดยเฉพาะวิธีการ

                     ผลิตขาวอาศัยแหลงน้ําธรรมชาติจากน้ําฝน ระบบชลประทานไมเพียงพอ  ปจจัยการผลิตและ
                     ปจจัยการดํารงชีพสูงขึ้นและมีแนวโนมสูงขึ้นอยางตอเนื่องในขณะที่รายไดของเกษตรกรไมได

                     เพิ่มขึ้นมากนัก  ถึงแมเกษตรกรจะพยายามดิ้นรนอยางไรก็ยังไมสามารถหลุดพนจากความยากจน
                     ความขัดสนจากการมีภาระหนี้สินที่มาจากการเริ่มเขาสูวงจรของสถาบันการเงินตามแนวนโยบาย

                     ของรัฐ  แนวทางครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาวในจังหวัดอุบลราชธานีสวนใหญที่ใชปรับตัวคือ
                     พยายามทํางานใหหนักขึ้น เขาปาหาอาหารเพื่อลดรายจายในการบริโภคลดมาตรฐานการครอง

                     ชีพลงเห็นชัดจาก“ยาพารารักษาทุกโรค”สงผลตอสุขภาพอนามัย ถึงแมมาตรฐานที่เปนปจจัยดํารง
                     ชีพบางอยางเปนความจําเปนขั้นพื้นฐานก็ตองตัดลดลงเพื่อความอยูรอดของครัวเรือน


                     2.2  วิถีการผลิตขาวของเกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี

                            การผลิตขาวหรือการทํานาเปนกระบวนการผลิตมีวิธีการหลายขั้นตอนที่พบเห็นในจังหวัด
                     อุบลราชธานี มีวิธีการปลูกขาว 3 แบบ (สํานักวิจัยและพัฒนาขาว 2557 : ออนไลน) ซึ่งแตละแบบ

                     ของการปลูกขาวนั้น เกี่ยวของกับการลงทุนซึ่งเปนตนทุนในระบบการผลิต ไดแก
                            2.2.1 การปลูกขาวไร

                            การปลูกขาวบนที่ดอน และไมมีน้ําขังในพื้นที่ปลูก ชนิดของขาวที่ปลูก เรียกวา ขาวไร
                     พื้นที่ดอนสวนมาก เชน เชิงภูเขา มักจะไมมีระดับ คือ สูงๆ ต่ําๆ จึงไมสามารถไถเตรียมดิน และ

                     ปรับระดับไดงายๆ เหมือนกับพื้นที่ราบ เพราะฉะนั้น ชาวนามักจะปลูกแบบหยอด โดยขั้นแรกทํา
                     การตัดหญาและตนไมเล็กออก ทําความสะอาดพื้นที่ที่จะปลูก แลวใชหลักไมปลายแหลมเจาะดิน

                     เปนหลุมเล็กๆ ลึกประมาณ 3-4 เซนติเมตร ปากหลุมมีขนาดกวางพอ ที่จะหยอดเมล็ดพันธุขาวลง
                     ไปได 5-10 เมล็ด หลุมนี้มีระยะหางกันประมาณ 25 เซนติเมตร จะตองหยอดเมล็ดพันธุทันที

                     หลังจากที่ไดเจาะหลุม หลังจากหยอดเมล็ดพันธุแลว จะใชเทากลบดินปากหลุม เมื่อฝนตกลงมา
                     เมล็ดไดรับความชื้น ก็จะงอกและเจริญเติบโตเปนตนขาว เนื่องจากที่ดอนไมมีน้ําขัง และไมมีการ

                     ชลประทาน การปลูกขาวไรจึงตองใชน้ําฝนเพียงอยางเดียว พื้นดินที่ปลูกขาวไรจะแหงและขาดน้ํา
                     ทันที เมื่อสิ้นฤดูฝน ดังนั้น การปลูกขาวไรจะตองใชพันธุที่มีอายุเบา โดยปลูกในตนฤดูฝน และแก

                     เก็บเกี่ยวได ในปลายฤดูฝน การปลูกขาวไรชาวนาจะตองหมั่นกําจัด วัชพืช ซึ่งเกษตรกรผูปลูก
                     ขาวจะมีคาใชจายในการซื้อสารกําจัดศัตรูพืชในปริมาณที่มาก และมีคาใชจายในการจางแรงงาน
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48