Page 39 -
P. 39

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        11





                     ตอการดํารงชีวิต โดยเฉพาะการทําการเกษตรของประชากรในจังหวัดอุบลราชธานี คือแมน้ําโขงที่
                     ไหลผานดานตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัดอุบลราชธานี  แมน้ํามูลที่ไหลผานจังหวัด

                     อุบลราชธานีเพื่อไปบรรจบกับแมน้ําโขง และแมน้ําชีที่ไหลมาบรรจบกับแมน้ํามูลที่จังหวัด
                     อุบลราชธานี นอกจากนี้ยังมีลําน้ําสายสําคัญที่ใชในการเกษตรคือ ลําเซบก ลําเซบาย ลําโดมใหญ

                     และลําโดมนอย สภาพภูมิประเทศมีภูเขาสลับซับซอนหลายแหง ทางบริเวณชายแดนตอนใตที่
                     สําคัญคือเทือกเขาบรรทัดและเทือกเขาพนมดงรักซึ่งกั้นอาณาเขตระหวางจังหวัดอุบลราชธานีกับ

                     สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว และกัมพูชา
                             จากการสํารวจขอมูลของสํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานีในป 2553  เชนเดียวกัน

                     พบวาครัวเรือนเกษตรกรมีทั้งหมด 228,866 ครัวเรือน (คิดเปนรอยละ 50.02 ของครัวเรือนทั้ง
                     จังหวัด) ประชากรในภาคการเกษตรทั้งหมด 966,811 คน (คิดเปนรอยละ 54.13 ของครัวเรือนทั้ง

                     จังหวัด) แยกเปนชาย 488,337  คน หญิง 508, 474 คน (สํานักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี
                     2556) หากจะพัฒนาเศรษฐกิจก็ตองพัฒนาประชากรที่อยูในภาคเกษตรกรดวย เนื่องจากสัดสวน

                     ประชากรในภาคการเกษตรเปนสัดสวนที่มากเมื่อเทียบกับประชากรที่อยูในภาคอุตสาหกรรมและ
                     อื่นๆ

                                สภาพเศรษฐกิจของจังหวัดอุบลราชธานี โดยทั่วไป ประชากรมีรายไดตอหัวจํานวน
                     59,965  บาทตอคนตอป สวนใหญมีอาชีพทางการเกษตรประมาณรอยละ 68 มีการทํานาขาวเปน

                     หลัก โดยที่ขาวนาปเปนพืชหลักเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งมีพื้นที่เพาะปลูก
                     จํานวน 4,116,728 ไร นอกจากขาวแลวยังมีการปลูกพืชไรอื่นๆ เปนพืชเสริมเพื่อสรางรายได

                     ไดแก มันสําปะหลัง ถั่วลิสง ออยโรงงาน ออยเคี้ยว ขาวโพดเลี้ยงสัตวและปอเปนตนดังนั้น
                     ประเภทอุตสาหกรรมที่ประกอบกิจการมากที่สุดจึงเปนอุตสาหกรรมประเภทโรงสีขาว ทั้งนี้ภาวะ

                     เศรษฐกิจโดยเฉลี่ยของเกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานี ที่อยูในเขตชนบท มีรายรับ รายจาย เงิน
                     ออมและหนี้สิน ดังตารางที่ 2.1


                     ตารางที่  2.1 ภาวะเศรษฐกิจประชากรจังหวัดอุบลราชธานีในเขตชนบท

                         รายรับเฉลี่ย          รายจายเฉลี่ย        เงินออมเฉลี่ย         หนี้สินเฉลี่ย

                     ครัวเรือน     คน      ครัวเรือน     คน      ครัวเรือน    คน      ครัวเรือน     คน
                      189,603     48,024    201,252     50,974     14,739     3,733      22,889      5,797

                     ที่มา:สํานักงานสถิติจังหวัดอุบลราชธานี2554


                               จากขอมูลการสํารวจความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ป 2554 ของจังหวัดอุบลราชธานี ดาน
                     รายได พบวา รายไดของประชากรในเขตชนบทจังหวัดอุบลราชธานี มีรายไดเฉลี่ยตอครัวเรือน

                     189,603 บาท อําเภอเมืองอุบลราชธานี เปนอําเภอที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปสูงที่สุด คิดเปน

                     59,974 บาทอําเภอบุณฑริกเปนอําเภอที่มีรายไดเฉลี่ยตอคนตอปต่ําที่สุด คิดเปน 40,773.83 บาท
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44