Page 37 -
P. 37

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว










                                                            บทที่ 2
                                            ภูมิหลังของเกษตรกรและพื้นที่ศึกษา



                            ในบทที่สองนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอวรรณกรรมปริทรรศนที่มาจากวรรณกรรมเชิงแนวคิด และ

                     วรรณกรรมเชิงขอมูล ที่สัมพันธกับงานวิจัยเรื่อง “แบบแผนรายไดและการใชจายของเกษตรกรผู
                     ปลูกขาวกับการสรางสมดุลในการดํารงชีพ:  กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี”  เนื่องจากยังไม

                     ปรากฏงานวิจัยในลักษณะแบบแผนรายไดและการใชจายโดยตรง ดังนั้นผูวิจัยจึงไดนําแนวคิดและ
                     ทฤษฎีตางๆ ที่เกี่ยวของสัมพันธในบทนี้ไปเปนแนวทางในการกําหนดระเบียบวิธีวิจัยของบทที่

                     สามการเสนอผลการวิจัยในบทที่สี่และอภิปรายผลการวิจัยในบทที่หาอยางมีระบบ แบบแผนโดย
                     เรียงลําดับตามหัวขอดังนี้



                     2.1 ขอมูลพื้นฐานพื้นที่ศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี
                                 จังหวัดอุบลราชธานีตั้งอยูทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศ

                     ไทย หางจากกรุงเทพมหานคร 630  กิโลเมตรมีพื้นที่ใหญเปนอันดับ 2 ของภาคและเปนอันดับ 5
                     ของประเทศ มีเนื้อที่ประมาณ 16,112 ตารางกิโลเมตร แบงเขตการปกครองออกเปน 25 อําเภอ

                     ไดแกเมืองอุบลราชธานี วารินชําราบ เดชอุดม พิบูลมังสาหาร เขมราฐ เขื่องใน ตระการพืชผล
                     มวงสามสิบ น้ํายืน บุณฑริก ศรีเมืองใหม โขงเจียม กุดขาวปุน นาจะหลวย ตาลสุม โพธิ์ไทร

                     สําโรง    สิรินธร ดอนมดแดง ทุงศรีอุดม นาเยีย นาตาล เหลาเสือโกก สวางวีระวงศ และน้ําขุน
                     สถิติป 2553 มีประชากรทั้งสิ้น 1,813,088 คนเปนชาย 909,405 คนและหญิง 903,683 คนความ

                     หนาแนนของประชากรเทากับ 112 คนตอตารางกิโลเมตรจํานวนประชากรเฉลี่ยตอครัวเรือน
                     เทากับ 3.70 โดยจํานวนครัวเรือนเฉลี่ยตอหมูบานเทากับ 182.80 ครัวเรือนและจํานวนประชากร

                     เฉลี่ยตอหมูบานเทากับ 671.80 คน (สํานักงานสถิติจังหวัดอุบลราชธานี 2553 : ออนไลน)
                             ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญของจังหวัดอุบลราชธานีคือ ปาไมประเภทเต็ง รัง ปาแดง

                     ปาดิบแลงและปาเบญจพรรณ ปจจุบันนี้ปาไมที่เหลือไมเพียงพอที่จะรักษาสภาพอากาศแหลงตน
                     น้ําลําธารและการพังทลายของดินไดในแตละปทําใหฝนไมตกตองตามฤดูกาลทรัพยากรประเภท

                     แร มีแรอโลหะเพียงชนิดเดียวไดแกเกลือหินมีแหลงน้ําใตดินหรือน้ําบาดาลอยูทั่วไปทรัพยากรดิน
                     ที่เปนทรัพยากรสําคัญในการปลูกขาวของเกษตรกรในจังหวัดอุบลราชธานีแบงออกเปน 3

                     ประเภท
                            1. ดินรวน-ดินรวนปนทราย สวนใหญจะอยูที่ราบลุมแมน้ํา ปริมาณรอยละ 25.50 ของพื้น

                     ที่ดินทั้งหมด
                            2. ดินรวนทราย-ดินรวนปนทราย เปนดินตามบริเวณที่ราบสูงทั่วไปมีความอุดมสมบูรณ

                     ต่ํา มีปริมาณรอยละ 35.50 ของพื้นที่ทั้งหมด
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42