Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        12





                     ตอครัวเรือนดานหนี้สินของประชากรในเขตชนบทพบวา มีหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือน   22,889 บาท
                     ตอครัวเรือน  โดยอําเภอที่มีหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือนสูงที่สุดคืออําเภอตระการพืชผล คิดเปน

                     27,968.19 บาทตอครัวเรือน อําเภอที่มีหนี้สินเฉลี่ยตอครัวเรือนต่ําที่สุดคืออําเภอโขงเจียม คิดเปน
                     4,664.69 บาทตอครัวเรือน  และดานการออม พบวา เงินออมเฉลี่ยตอครัวเรือน 14,974 บาท โดย

                     อําเภอที่มีเงินออมเฉลี่ยสูงสุดคืออําเภอดอนมดแดง คิดเปน 39,304.16 บาทตอครัวเรือน อําเภอที่
                     มีเงินออมต่ําที่สุดคือ อําเภอกุดขาวปุน คิดเปน 5,014.96 บาทตอครัวเรือน

                             รายจายที่สําคัญของประชากรในเขตชนบทที่ที่อยูในภาคการเกษตรคิดเปนตัวเงิน
                     จําแนกเปนรายการดังตอไปนี้

                             1. รายจายที่เปนตนทุนการผลิต ประกอบดวย คาพันธพืชและสัตว คาสารเคมีเพื่อการ
                     ผลิต เชนปุย ยาฆาแมลง คาจางแรงงาน คาเชาตางๆ คาเครื่องจักร คาน้ํามันเชื้อเพลงเปนตน

                             2. คาใชจายในการอุปโภคบริโภค จําแนกเปน คาอาหาร คาเครื่องนุงหม คาใชจาย
                     เกี่ยวกับที่อยูอาศัย คารักษาพยาบาล คายารักษาโรค คาใชจายดานการศึกษา คาเดินทาง คาน้ํา

                     คาไฟฟา คาติดตอสื่อสาร คาใชจายสวนบุคคล คาบันเทิง หวย การพนัน คาบุหรี่ เหลายาดอง
                     และคาใชจายเบ็ดเตล็ด

                             จากรายจายขางตนพบวา ประชาชนจังหวัดอุบลราชธานีในเขตชนบท 288,867 ครัวเรือน
                     ไดจายไปทั้งหมด 58,135 ลานบาทในป 2554 โดยแยกเปนรายจายดานตนทุนการผลิต 23,955

                     ลานบาท รายจายในการอุปโภคบริโภค 34,179 ลานบาท คาใชจายเฉลี่ย 50,981.51 บาทตอคน
                     ตอปรองลงมาเปนคาใชจายดานตนทุนการผลิต คิดเปน 21,007.63 บาทตอคนตอป

                                อยางไรก็ตามจุดแข็งของจังหวัดอุบลราชธานีคือ การมีพื้นที่สําหรับทําการเกษตรเปน
                     สวนมาก ประมาณ 5.80 ลานไร เปนที่นา 4.20 ลานไร พืชไร 0.40 ลานไร และ ไมยืนตน 0.40

                     ลานไร และอื่นๆ อีก 0.10 ลานไร (จังหวัดอุบลราชธานี  2552) จังหวัดอุบลราชธานีถือเปนแหลง
                     ใหญในการผลิตขาวหอมมะลิซึ่งเปนที่ตองการของตลาดโลก ดวยปจจัยสนับสนุนจากการมีเขื่อน

                     สําคัญ 2 เขื่อนคือเขื่อนสิรินธรและเขื่อนปากมูน ซึ่งนอกจากผลิตไฟฟาแลวยังสงน้ําชวยเหลือ
                     การเกษตรผูปลูกขาวและอํานวยประโยชนดานการเกษตรอื่นๆ ได 150,000 ไร และ 160,000  ไร

                     ตามลําดับ (ไกดอุบล 2556 :    ออนไลน) จึงเปนองคประกอบในการเพิ่มศักยภาพดานการเกษตร
                     ใหกับเกษตรกร อีกทั้งภาครัฐใหการสงเสริมการทําการเกษตรที่ยั่งยืนบนแนวคิดเศรษฐกิจ

                     พอเพียง ดังวิสัยทัศนของจังหวัดอุบลราชธานีที่วา “ชุมชนเขมแข็ง เมืองนาอยู มีประตูการคา
                     และการทองเที่ยวสูเพื่อนบาน การเกษตรมีศักยภาพ”

                             ภาพรวมของการปลูกขาวในป 2552 จังหวัดอุบลราชธานี มีเนื้อที่ปลูกทั้งหมด
                     4,108,833  ไร เนื้อที่เสียหาย 69,274 ไร เนื้อที่เก็บเกี่ยว 4,039,599 ไร ผลผลิตรวม 1,656,704

                     ตัน มูลคาผลผลิต 19,834 ลานบาท จําแนกเปน ขาวเจา ซึ่งมีเนื้อที่เพาะปลูกทั้งหมด 2,634,193
                     ไร ผลผลิตเฉลี่ย 405 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตรวม 1,066,484 ตัน มูลคาผลผลิต 16,000  ลานบาท

                     สวนขาวเหนียว ประมาณ 1,474,640 ไร ผลผลิตเฉลี่ย 400 กิโลกรัมตอไร ผลผลิตรวม 589,856
                     ตัน มูลคาผลผลิต  3,834 ลานบาท มีตนทุนการผลิตขาวในปเพาะปลูก 2552/53 ตนทุนรวมตอไร
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45