Page 33 -
P. 33

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                         5





                     โทรศัพทของเกษตรกรเองที่ถูกนําไปใชในระบบการผลิตเปนตน สวนคาใชจายนอกภาค
                     การเกษตรไดแก คาอาหาร คาสาธารณูปโภค คาเลาเรียนบุตร คารักษาพยาบาล คาเครื่องนุงหม

                     เปนตน
                                 แนวคิดหรือทฤษฎีหลักที่ใชในการวิจัยคือปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เนื่องจากเปน

                     ปรัชญาที่เกิดขึ้นบนภูมิสังคมของประเทศไทย ที่มีพื้นฐานเปนประเทศเกษตรกรรมประกอบกับ
                     แนวคิดการดํารงชีพอยางยั่งยืน และทฤษฎีการปรับตัว



                     1.5 กรอบแนวคิดของการวิจัย

                                 ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจึงอยูบนพื้นฐาน
                     และอาศัยวัตถุดิบทางการเกษตรเปนสวนใหญ  หากแตการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ และ

                     สังคมที่รวดเร็วกอใหเกิดผลกระทบกับเกษตรกร ที่เปนผูมีบทบาทในการผลิตวัตถุดิบนั้น ไดสงผล
                     กระทบตอวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะพฤติกรรมการใชจายและการบริโภคในครัวเรือน

                     สงผลใหเกษตรกรตองหาวิธีการปรับตัวเพื่อความอยูรอดทั้งในดานเศรษฐกิจประกอบดวยเงื่อนไข
                     ที่มาจากรายไดในภาคการเกษตรเชนการขายผลผลิต และรายไดนอกภาคการเกษตรเชนรับจาง

                     บุคคลอื่น (บุตร-หลาน) สงให สวนดานสังคมมีเงื่อนไขทางดาน การรวมกลุม วัฒนธรรม คานิยม
                     และประเพณีของทองถิ่นที่เปนรูปแบบของกิจกรรมวาดวยการบริโภคและสินคาบริโภคที่มี

                     ความสําคัญตอวิถีการดําเนินชีวิต ที่เขามาเกี่ยวของระหวางเงื่อนไขทางดานเศรษฐกิจและสังคมจะ
                     กอใหเกิดแบบแผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรในรูปแบบที่เชื่อมโยงในการนําเอาทรัพยากร

                     มาจัดการภายใตความสามารถของครัวเรือนไปสูการดํารงชีพที่แสดงออกมาในรูปแบบพฤติกรรม
                     พฤติกรรมที่เปนไปในแนวทางของการปรับตัวในการพึ่งพาตนเองหรือการสรางภูมิคุมกันเพื่อลด

                     ความกดดัน ประกอบดวยการปรับตัวเพื่อเพิ่มรายไดในรูปแบบตางๆ ไดแก การทําไรนาสวนผสม
                     การเลี้ยงสัตวเสริม การปลูกพืชเศรษฐกิจ การเพิ่มมูลคาผลผลิต ขายพืชหรือสัตวที่หาไดจาก

                     ธรรมชาติ และเงินที่ลูกหลานหรือรัฐบาลสงมาให สวนการปรับตัวเพื่อลดรายจายไดแก การตัด
                     รายจายที่ไมจําเปนออก การลดรายจายที่จําเปนลง การหารายไดนอกภาคการเกษตร ปลูกพืชผัก

                     ไวรับประทานเอง หาอาหารตามแหลงอาหารธรรมชาติ เนนใชแรงงานในครัวเรือนเพื่อลด
                     การจางแรงงาน และผลิตปุยเพื่อใชในการเกษตรเอง สงผลใหครัวเรือนเกษตรกรสามารถดํารงอยู

                     ไดอยางมั่นคง
                                  ดังนั้นทั้งปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เกิดขึ้นบนภูมิสังคมของประเทศไทย ทฤษฎี

                     การปรับตัว จึงเปนทฤษฎีที่เหมาะสมที่จะนํามาใชอธิบาย แบบแผนรายไดและการใชจายของ
                     ครัวเรือนเกษตรกรผูปลูกขาวกับการสรางสมดุลในการดํารงชีพรวมกัน เนื่องจากเศรษฐกิจ

                     พอเพียงเนนใหมีความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน สามารถนําไปสูเปาหมายของการสราง
                     ความมั่นคงทางเศรษฐกิจในระดับที่ครัวเรือนสามารถพึ่งตนเองไดดวยการรูแหลงที่มาของรายได

                     แลวจึงวางแผนการใชจายในระบบการผลิตและการดํารงชีพ เพื่อลดความเสี่ยงใหพออยูพอกินตาม
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38