Page 29 -
P. 29
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
บทที่ 1
บทนํา
1.1 ที่มาของโครงการ
ภาคเกษตรกรรมเปนภาคสวนที่มีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศ พื้นที่การเกษตร
ของไทยมีประมาณหนึ่งในสามของพื้นที่ทั้งหมดของประเทศ การเกษตรจึงเปนแหลงรองรับ
แรงงานที่ใหญที่สุด ในป 2554 มีแรงงานภาคเกษตรรอยละ 45.23 (สํานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตร 2554) สงผลกระทบตอเศรษฐกิจสวนรวม ประสิทธิภาพการผลิตมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
ความตองการสินคาเกษตรและอาหารมีความหลากหลายมากขึ้น ผลจากประชากรของโลกที่เพิ่ม
มากขึ้น ภาคการเกษตรจึงมีความสําคัญตอการสรางความมั่นคงทางดานอาหาร โดยเฉพาะขาว
เปนทั้งอาหารหลักของคนไทยและอาหารของประชากรโลก และยังเปนสินคาสงออกที่สําคัญของ
ไทย เกษตรกรผูปลูกขาวจึงเปนผูมีบทบาทสําคัญในการผลิตเพื่อการยังชีพและการสงออก ปการ
เพาะปลูก 2555/2556 พื้นที่ปลูกขาวของไทยรวมทั้งสิ้น 65.158 ลานไร ผลผลิต รวมทั้งประเทศ
27.008 ลานตันขาวเปลือก (สํานักวิจัยและพัฒนาขาว 2557) ปริมาณการสงออกขาวป 2556 ของ
ไทย 133,852 ลานบาท (สมาคมผูสงออกขาวไทย 2557)
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมอยางตอเนื่องได ไดสงผลกระทบไปทุกภาค
สวน เปนทั้งโอกาสและภัยคุกคามที่รายแรง โดยเฉพาะการดํารงชีพของเกษตรกรผูปลูกขาว ที่ยัง
ตองพึ่งพิงปจจัยภายนอกทางดานการตลาด กอใหเกิดทั้งผลดีและผลเสียเพราะแมจะกอใหเกิด
ความเจริญกาวหนาในทางกลับกันก็กอใหเกิดความกดดันในวิถีชีวิตซึ่งรวมถึงระบบการผลิตและ
การบริโภคในครัวเรือน ทั้งนี้เนื่องจากเกษตรกรผูปลูกขาวตองเผชิญกับความซับซอนที่มีมากขึ้น
เชน ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ํา ขาดความรูในดานการจัดการระบบการผลิต ขาดการวาง
แผนการใชปจจัยการผลิต มีขอจํากัดในดานการตลาด ทั้งนี้ไมนับรวมการเผชิญความผันผวนจาก
ธรรมชาติ เกษตรกรผูปลูกขาวจึงตกอยูในสภาพออนแอ มีขอจํากัดในการพึ่งพาตนเองอยาง คํา
กลาวที่วา “เกษตรกรยากจน ถูกเอารัดเอาเปรียบ” ก็ยังอยูคูกับสังคมไทยมาโดยตลอด
การดํารงอยูเกษตรกรผูปลูกขาวจึงตองตอสูกับความยากลําบากทั้งในระตองปรับตัวมี
มากมายอาทิ ปจจัยดานสังคมที่มีเงื่อนไขทางดานเศรษฐกิจ สภาพของครอบครัว เงื่อนไขทางดาน
การตลาด การใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ปจจัยทางดานการขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตร ที่
มีเงื่อนไขจากคาแรงที่เพิ่มขึ้น ปจจัยทางดานเศรษฐกิจ ที่มีเงื่อนไขจาก แหลงทุน ราคาผลผลิต
ตนทุนในการผลิตที่เพิ่มขึ้น ในสภาวะที่ยากลําบากนี้ เกษตรกรพยายามหาแนวทางเพื่อใหสามารถ
ประกอบกิจกรรมทางการเกษตรไดอยางตอเนื่อง การปรับตัวที่สําคัญเพื่อใหทนตอแรงกดดันจาก
ปจจัยตางๆ ที่ยึดโยงอยูกับสถานการณดานเศรษฐกิจ สังคมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาไดแก (1)