Page 30 -
P. 30

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                         2





                     การสรางความหลากหลายในการผลิตผลผลิตทางการเกษตร  (2) การเปลี่ยนชนิดของพืชหรือ
                     พันธุสัตว เพื่อใหสอดรับกับสภาพพื้นที่ สภาวะการตลาด และการพัฒนาของเทคโนโลยี (3) การ

                     ลดความเสี่ยงทางการตลาด (4) การเปลี่ยนชวงเวลาในการประกอบกิจกรรมทางการเกษตร การ
                     ปรับเปลี่ยนการไถพรวนดินมาเปนแบบการอนุรักษความชื้นและความอุดมสมบูรณของดิน รวมทั้ง

                     การผลิตที่มีความหลากหลาย
                                สวนการปรับตัวดานตนทุนการผลิตที่สูงขึ้นซึ่งเกิดจากอัตราคาจางแรงงาน ปญหาการ

                     ขาดแคลนแรงงานในภาคการเกษตรยังคงเปนปญหาที่สําคัญในระดับตน ซึ่งเกษตรกรก็จะทําการ
                     ปรับตัวโดยใชแรงงานจากเครื่องจักรแทนการจางแรงงานคน การหารายไดจากการทํากิจกรรม

                     นอกภาคการเกษตร ก็เปนอีกหนึ่งแนวทาง กิจกรรมที่เกษตรกรใชในการสรางรายไดประกอบดวย
                     การคาขาย การรับจางใชแรงงาน เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลเก็บเกี่ยวผลผลิต เกษตรกรสวนใหญเดินทาง

                     ออกนอกพื้นที่เพื่อไปทํางานสรางรายได นํามาใชเปนเงินทุนในการประกอบกิจกรรมทางการ
                     เกษตรในชวงฤดูกาลผลิตที่จะถึง และนํามาใชในการดํารงชีวิตประจําวัน ในชวงที่ไมไดมีรายได

                     จากกิจกรรมทางการเกษตร (มณีมัย ทองอยู 2546)
                                การปรับตัวที่สําคัญของเกษตรกรจึงเปนการปรับตัวในระบบการผลิตและการ

                     ดํารงชีวิต เพราะการที่เกษตรกรมีการสงบุตรหลานไปศึกษาในระดับที่สูงขึ้น เมื่อบุตรหลานสําเร็จ
                     การศึกษาแลวบุตรหลานของเกษตรกรเหลานั้นไมไดกลับเขาสูระบบการเกษตร แตประกอบอาชีพ

                     นอกภาคการเกษตร แลวสงเงิน หรือรายไดที่ไดรับจากการประกอบอาชีพสงกลับมาในภาค
                     การเกษตรเพื่อใหผูปกครองที่เปนเกษตรกรอยูนั้นไดใชสําหรับเปนทุนในการประกอบกิจกรรม

                     ทางการเกษตร ซึ่งก็นับไดวาเปนอีกรูปแบบหนึ่งของการสรางรายไดของเกษตรกรที่มาจากนอก
                     ภาคการเกษตรอีกทางหนึ่งดวย (ปนแกว เหลืองอรามศรี 2549)

                              ถึงแมประเทศไทยจะมีศักยภาพการผลิตสินคาเกษตรที่เปนอาหารพอเพียง และมีเหลือ
                     สงออกเพื่อเลี้ยงประชากรโลกมาโดยตลอด แตปจจัยการผลิตตางๆ ไดสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ในขณะ

                     ที่ราคาสินคาเกษตรขยับสูงขึ้นไมสมดุลกับตนทุนการผลิต รวมทั้งคาครองชีพที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา
                     สงผลตอความเปนอยูและคุณภาพชีวิตของเกษตรกรผูปลูกขาวเปนอยางมาก เกษตรกรรายยอย

                     ยังตองยืนอยูในจุดที่ยากจน  มีขอจํากัดในการทํากินหรือประกอบอาชีพเสริมอื่น ดังนั้นการหา
                     แนวทางเพื่อสรางความเขมแข็งใหเกษตรผูปลูกขาวใหพึ่งพาตนองได  ทั้งในดานการผลิต  การ

                     บริหารจัดการผลผลิต การบริหารจัดการรายรับและรายจาย การสงเสริมพฤติกรรมการดํารงชีพ
                     ดวยความพอเพียง เพื่อใหเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองไดจึงนาจะเปนการแกปญหาที่เปน

                     ทางออก เพราะหากเกษตรกรไมสามารถพึ่งพาตนเองได ก็จะไมมีวันหลุดพนจาก “ความยากจน
                     การถูกเอารัดเอาเปรียบ” แตการที่จะพึ่งพาตนเองไดนั้นนอกจากตองปรับตัวตามกระแสโลกาภิ

                     วัตนแลว คณะผูวิจัยเห็นวา ปจจัยภายในอีกสวนหนึ่งมาจากพฤติกรรมการบริโภคหรือแบบ
                     แผนการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรเอง เพราะทายที่สุดปจจัยภายในสวนนี้จะนําไปสูการลด

                     ตนทุนการผลิต มีรายไดคงเหลือเพิ่มขึ้นสงผลตอการดํารงชีวิตและการบริหารรายรับรายจายที่
                     สมดุล
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35