Page 31 -
P. 31

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                         3





                             จังหวัดอุบลราชธานีเปนจังหวัดที่ประชากรสวนใหญทําการเกษตร มีพื้นที่ทําการเกษตร
                     ทั้งหมด 5.8 ลานไร โดยเฉพาะการทํานาซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจหลักสําคัญที่สุดของประเทศไทย มี

                     สวนสําคัญตอการเพิ่มปริมาณการสงออก เพราะพื้นที่ปลูกขาวประมาณ 3,837,237  ไร หรือคิด
                     เปนรอยละ 81  ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมดของจังหวัด (กรมการขาว  2555  :  ออนไลน)  การ

                     ดํารงชีพของเกษตรกรจังหวัดอุบลราชธานีในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอันเปนผลจากโลกาภิวัตน
                     ครัวเรือนเกษตรกรยังคงประสบปญหาหลายอยาง โดยเฉพาะปญหาทางดานเศรษฐกิจที่รายไดมา

                     จากการทําการเกษตรกรรม กระแสการบริโภคนิยม ครัวเรือนจึงตกอยูในสภาพออนแอ เปนหนี้สิน
                     ที่มาจากการลงทุนปจจัยการผลิตที่เนนการผลิตเพื่อการพาณิชย สงผลใหรายรับไมพอกับรายจาย

                     ขาดการวางแผนการใชจายในครัวเรือน  (สํานักงานสถิติจังหวัดอุบลราชธานี 2557) สาเหตุที่เปน
                     เชนนี้สวนหนึ่งมาจากพฤติกรรมการดํารงชีพของเกษตรกรเองซึ่งเปนพฤติกรรมภายในซึ่งสามารถ

                     ปรับได
                                จากผลกระทบทางดานตนทุน และพฤติกรรมการใชจายของครัวเรือนเกษตรกรที่ยังมี

                     ขอจํากัดรายรับไมพอกับรายจาย อีกทั้งงานวิจัยที่ผานมาทั้งของ วิดาวรรณ   เพ็งแกว (2547)
                     สุดใจ จงวรกิจวัฒนา (2554) สําราญ สรุโณ  (2545) และนักวิจัยทานอื่น ยังไมเห็นภาพความ

                     ชัดเจนในแบบแผนของครัวเรือนที่เปนรูปแบบไวรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางตอเนื่องทางดาน
                     เศรษฐกิจและสังคม เนื่องจากปจจัยทางดานสภาพเศรษฐกิจและสังคม  ในแตละพื้นที่จะแตกตาง

                     กันออกไปอีกทั้งเกษตรกรภาคอีสานเปนเกษตรกรที่มีขอจํากัดทางดานการศึกษาซึ่งเปนปจจัยที่มี
                     สวนสําคัญในการคิดวิเคราะหเพื่อดําเนินกิจกรรมตางๆ  ทําใหผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาแบบแผนการ

                     ใชจายของครัวเรือนเกษตรกรกับการสรางภูมิคุมกันเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางดาน
                     เศรษฐกิจและสังคม เพราะหากแบบแผนการใชจายของครัวเรือนมีแบบแผนที่ดียอมสงผลตอการ

                     ลดตนทุนทั้งในระบบการผลิต และมีคาใชจายพอเพียงในระดับการดํารงชีพ ทั้งในระดับจุลภาคและ
                     ในระดับมหภาคตอไป

                                งานวิจัยเรื่องนี้จึงเริ่มตนที่ การศึกษาพฤติกรรมและแนวทางที่ทําใหเกษตรกรพึ่งพา
                     ตนเองในระดับปจเจกบุคคลได  เพื่อเปนตนแบบใหเกษตรกรรายอื่นๆ ไดประยุกตใชเปนแนวทาง

                     ใหเกิดการพึ่งพาตนเองในเบื้องตน เพราะนอกจากเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองไดแลว ผลที่ได
                     จากงานวิจัยจะทําใหภาครัฐไดขอมูลเพื่อไปกําหนดเปนนโยบาย  และสรางกลไก หรือมาตรการ

                     ตางๆ โดยการจัดหาปจจัยพื้นฐานและภารกิจสนับสนุน ในอนาคตใหเปนไปในทิศทางที่เหมาะสม
                     บนพื้นฐานขอมูลที่เปนจริงจากผลการวิจัย ยอมจะเปนการแกปญหาไดตรงจุด ดังนั้นการพัฒนา

                     คุณภาพชีวิตและการเสริมสรางความเขมแข็งของเกษตรกรก็จะสามารถเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม
                     เพราะหากเกษตรกรอยูดีมีสุขกอเกิดคุณภาพชีวิต ยอมเปนกลไกถาวรในการสรางความมั่นคง

                     ทางดานอาหารเพื่อธํารงรักษาไวในอาชีพที่เปรียบเสมือนครัวของมวลมนุษย และเปรียบไดดั่ง
                     กระดูกสันหลังของชาติ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36