Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
41
4.4 การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซมในระดับเซลล
การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครมาติดของโครโมโซมคูเหมือนในระหวางการแบงเซลลแบบ
ไมโอซิสหรือการเกิดครอสซิงโอเวอร สามารถสังเกตเห็นไดภายใตกลองจุลทรรศน โดยทําให
โครโมโซมมีรูปรางเปลี่ยนไปเปนรูปคลายรอยไขว ที่เรียกวาไคแอสมา (รูปที่ 4.6) ตรงรอยไขวคือ จุด
ที่เกิดการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนซึ่งกันและกันของโครมาติดของโครโมโซมคูเหมือนซึ่งกําลังเริ่มจะผละ
ตัวแยกออกจากกันในระยะดิพโพลทีนของการแบงเซลลแบบไมโอซิส
รูปที่ 4.6 โครโมโซมคูเหมือนในระยะดินโพลทีนของการแบงเซลลแบบโมโอซิส มีรูปรางคลาย
รอยไขว เกิดจากการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครมาติด
Creighton และ McClintock (1931) เปนผูแสดงใหเห็นถึงการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวาง
โครมาติดอยางชัดแจง วามีผลทําใหการจัดเรียงตัวของยีนบนโครโมโซมเปลี่ยนแปลงไปซึ่งสงผลให
พบลักษณะใหม ๆ เกิดขึ้นในชั่วลูก เขาไดทําการทดลองกับแมลงหวี่ (Drosophila) โดยใชแมลงหวี่ตัว
เมียที่มีโครโมโซม-เอกซ (X-chromosome) 2 แทงที่แตกตางกัน (รูปที่ 4.7) โดยโครโมโซม-เอกซแทง
ที่แตกหักเปนตัวนํายีนเครื่องหมาย (marker gene) 2 ยีน คือ ยีนดอยที่ควบคุมสีตาสีชมพู (carnation,
car : 62.5) และยีนเดนที่ควบคุมตาขนาดเล็ก (bar, B : 57.0) สวนโครโมโซม-เอกซแทงยาวเปนตัวนํา
ยีน 2 ยีนที่ทําใหสีตาและขนาดตาเปนปกติ (wild type, +) สวนแมลงหวี่ตัวผูที่ใชในการผสมทดสอบ
(testcross) กับแมลงหวี่ตัวเมียดังกลาวประกอบดวยโครโมโซม-เอกซ และโครโมโซม-วาย (Y-
chromosome) โดยโครโมโซม-เอกซจะนํายีนดอยที่ควบคุมสีตาสีชมพู (car) และยีนดอยที่ควบคุม
ขนาดตาปกติ (+) ลูกชั่วที่ 1 (F ) ที่ไดจากการผสมพันธุซึ่งเปนตัวเมีย สามารถจัดแบงออกไดเปน 4
1
กลุม ดังนี้ (1) กลุมที่มีลักษณะตาสีชมพูและขนาดตาเล็ก และมีโครโมโซม-เอกซ ที่แตกหักหนึ่งแทง
มาจากแม (2) กลุมที่มีสีตาและขนาดตาปกติ และมีโครโมโซม-เอกซแทงยาวมาจากแม (3) กลุมที่มีสี
ตามสีชมพูและขนาดปกติ (4) กลุมที่มีสีตาปกติแตขนาดตาเล็ก ลูกในกลุม 3 และ 4 จัดวาเปนพวกที่