Page 49 -
P. 49
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
45
สมมุติวามีครอสซิงโอเวอรเกิดขึ้น 2 แหง คือ ที่ตําแหนง I (ระหวางยีน a และ b) และ
ตําแหนง II (ระหวางยีน b และ c) ภายหลังการผสมพันธุพบวา ลูกที่มีลักษณะเหมือนพอแม (parental)
มีจํานวนมากที่สุด รองลงมาคือ ลูกที่มีการจัดเรียงตัวของยีนแบบใหมหรือรีคอมบิแนนต
(recombinant) ความถี่ของลูกที่เปนรีคอมบิแนนตทั้งสองแบบขึ้นอยูกับระยะทางระหวางยีน a และ b
กับยีน b และ c ลูกพวกรีคอมบิแนนตยิ่งมีเปอรเซ็นตสูงมากเทาใด ระยะทางระหวางยีนทั้งสองนั้นยิ่ง
หางกันมากในแผนที่ยีน ความถี่ของลูกที่เกิดจากครอสโอเวอรคู (double crossover) จะนอยที่สุด
เนื่องจากโอกาสที่จะเกิดครอสโอเวอรคูนั้นต่ํามาก เพราะโอกาสของการเกิดมีคาเทากับผลคูณของ
โอกาสในการเกิดครอสโอเวอรเดี่ยว (single crossover) ทั้งสองแหง นอกจากนี้การเกิดครอสโอเวอรคู
ยังเปนเครื่องยืนยันวายีนทั้งสามเรียงตัวกันเปนเสนตรงบนโครโมโซม
Sturtevant (1915) ไดนําขอมูลเหลานี้มาใชในการหาระยะทางระหวางยีน 2 ยีน โดยอาศัย
หลักการที่วา ความถี่ของการเกิดลูกผสมแบบรีคอมบิแนนตหรือความถี่ของการเกิดครอสซิงโอเวอร
ระหวางยีน 2 ยีนมีความหมายแสดงถึงระยะทางระหวางยีนทั้งสองนั้น โดยกําหนดใหความถี่ของการ
เกิดลูกผสมแบบรีคอมบิแนนต 1 เปอรเซ็นตเทากับระยะหางระหวางยีน 1 หนวยแผนที่ (map unit)
หรือ 1 centi Morgan (cM)
ตัวอยาง การนําวิธีการผสมทดสอบ 3 จุดมาใชในการหาตําแหนงของยีน 3 คูบน
โครโมโซมคูที่ 5 ของขาวโพด ยีนทั้ง 3 คูนั้นไดแก ยีนที่ควบคุมลักษณะเสนกลางใบสีน้ําตาล (bm)
เยื่อหุมเมล็ด (aluerone layer) สีแดง (pr) และตนกลามีสีเหลือง (v) ซึ่งตางก็เปนยีนดอยอยูบน
โครโมโซมคูที่ 5 จากผลการผสมพันธุตามแผนผังขางลางนี้จะสามารถคํานวณหาตําแหนงและ
ระยะทางของยีนทั้งสามนี้ได
พันธุพอ-แม + + + × bm pr v
+ + + bm pr v
ลูกชั่วแรก (F ) + + + × bm pr v (ตัวทดสอบ)
1
bm pr v bm pr v