Page 52 -
P. 52

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        48






                               วิธีการดังกลาวไดถูกนํามาใชในการสรางแผนที่ยีน (genetic map) ของสิ่งมีชีวิตตาง ๆ เชน

                     แมลงหวี่  (Drosophila melanogaster)  และ  ขาว  (Oryza sativa)  ขาวโพด  (Zea mays)  (รูปที่  4.8)

                     ตําแหนงของยีนแตละตัวในแผนที่ยีนจะแสดงเปนจุดบนโครโมโซมซึ่งเปนเสนตรง ระยะทางระหวาง
                     ยีนคูใดคูหนึ่งขึ้นอยูกับความถี่ของการเกิดลูกพวกรีคอมบิแนนต   แผนที่ยีนของคนก็มีผูทําไวในป

                     1985  รวบรวมไดวา  มียีนที่ทราบตําแหนงบนโครโมโซมของคนจํานวนทั้งสิ้น  1,497  ยีน  จากยีน

                     ทั้งหมดของคนประมาณ 100,000 ยีน


                               อยางไรก็ตามแผนที่ยีนไมไดแสดงถึงระยะทางที่แทจริงของยีน เพราะวาครอสซิงโอเวอร

                     ไมไดเกิดขึ้นที่ความถี่เดียวกันหมดเมื่อการทดลองแตกตางกัน การหาระยะทางที่แทจริงกระทําไดโดย

                     วิธีที่เรียกวา ดีลีชัน แมปปง (deletion mapping) หรือไซโตเจนเนติคแมปปง โดยอาศัยการขาดหายไป
                     ของชิ้นสวนยีนบนโครโมโซม (deletion) แผนที่ยีนแบบนี้จะบอกใหทราบถึงตําแหนงที่แนนอนของ

                     ยีนใดยีนหนึ่งบนโครโมโซม ตําแหนงของยีนดังกลาวอาจอยูบนแขนใดแขนหนึ่งของโครโมโซม

                     หรืออยูบนสวนใดสวนหนึ่งของแขนนั้น ในการทําแผนที่ยีนดังกลาวเราสามารถบอกตําแหนงของยีน
                     ที่เปลี่ยนแปลงไป (mutated gene) ตัวใดตัวหนึ่งไดโดยอาศัยการขาดหายไปของชิ้นสวนโครโมโซม

                     ทําใหยีนที่อยูบนอีกโครโมโซมหนึ่งสามารถแสดงลักษณะออกมาไดไมวายีนนั้นจะเปนยีนเดนหรือ

                     ดอย
                               การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครโมโซมที่มิไดเปนคูกัน (translocation)  ก็สามารถ

                     นํามาใชในการทําแผนที่ยีนได นอกจากนี้ปจจุบันนักพันธุศาสตรสามารถหาตําแหนงของยีนไดโดย

                     อาศัยเครื่องหมายดีเอ็นเอ (DNA marker) ชนิดตาง ๆ เชน RFLP, RAPD, AFLP, SSR แผนที่ยีนชนิด
                     นี้ เรียกวา molecular geneic map เชน ในขาวมีการทําแผนที่ยีนโดยใช RFLP marker ทําใหทราบ

                     ตําแหนงของยีนตาง ๆ มากกวา 2,500 ยีน (Phillips and Vasil, 2001)


                     บรรณานุกรม




                     วิสุทธิ์  ใบไม. 2527. พันธุศาสตร. ศิลปกิจการพิมพ, กรุงเทพฯ.


                     Belling, J. 1933. Crossing over and gene rearrangement in flowering plants. Genetics 18 : 388-413.


                     Blakeslee, A.F. 1921. Types of mutations and their possible significance in evolution. Amer. Nat.

                            55 : 254-264.


                     Clausen, R.E. and T.H. Goodspeed. 1926. Inheritance in Nicotiana Tabacum. VII. The monosomic

                            character, “flutet”. Univ. Calif. Pub. Bot. 11 : 61-82.
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57