Page 54 -
P. 54

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        50






                                                            บทที่ 5

                                                     หนาที่ของโครโมโซมเพศ

                                                  (Function Sex Chromosome)



                     5.1 คํานํา

                               ปกติสิ่งมีชีวิตพวกดิพลอยดมีโครโมโซมที่เหมือนกันเปนคู ๆ เรียกวา โครโมโซมคูเหมือน

                     (homologous chromosome)  โดยโครโมโซมแตละคูมีความยาวและรูปรางเหมือนกันโดยตลอด

                     อยางไรก็ตามพบวา  สัตวชั้นสูงทั่วไปมีโครโมโซมคูหนึ่งที่มีความสัมพันธกับเพศเรียกวา  โครโมโซม

                     เพศ (sex chromosome) เชน คนมีโครโมโซมเซลลรางกาย (autosome) อยู 22 คู และโครโมโซมเพศ 1
                     คู  (XY)  การศึกษาเกี่ยวกับโครโมโซมซึ่งเปนตัวกําหนดเพศของสิ่งมีชีวิตไดเริ่มขึ้นในป  1891  โดย

                     Henking  พบวา  ในแมลง  Pyrrocholis apterus  ตัวผูมีสเปรมจํานวนครึ่งหนึ่งไดรับโครโมโซมเพศ-

                     เอกซ (X – chromosome) สวนอีกครึ่งหนึ่งไมไดรับ ระบบการกําหนดเพศแบบนี้เรียกวา ระบบเอกซ-
                     โอ (X – O system) แมลงหลายชนิดมีระบบการกําหนดเพศแบบ X – O โดยตัวผูมีโครโมโซมเพศ-

                     เอกซเพียงแทงเดียว (XO) สวนเพศเมียมีโครโมโซมเพศ-เอกซ 2 แทง (XX) นอกจากนี้ยังมีระบบการ

                     กําหนดเพศอีกระบบหนึ่งซึ่งเปนที่รูจักกันอยางกวางขวาง คือ ระบบเอกซ-วาย (X -  Y system) ซึ่งจะ

                     ไดกลาวถึงในรายละเอียดกอน


                     5.2 การกําหนดเพศ

                               การกําหนดเพศ (sex determination) ในสิ่งมีชีวิตแบงออกไดเปน 2 ระบบ คือ ระบบเอกซ-

                     วาย (X - Y system) และระบบเอกซ-โอ (X – O system) ระบบเอกซ-วายเปนระบบพื้นฐานของการ

                     กําหนดเพศในสัตวและพืชบางชนิด คูของโครโมโซมเพศ (XX หรือ XY) ซึ่งจัดวาเปนโครโมโซมคู
                     เหมือนคูหนึ่ง  อาจมีขนาดและรูปรางแตกตางกันในเพศหนึ่ง  (heteromorphic)  หรือเหมือนกันในอีก

                     เพศหนึ่ง  (homomorphic)  เพศของสิ่งมีชีวิตที่กําหนดโดยโครโมโซมเพศที่มีขนาดรูปรางตางกันเรา

                     เรียกวา เฮตเทอโรกามีติค เซกซ (heterogametic sex) เนื่องจากในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส
                     จะไดเซลลสืบพันธุ 2 แบบ คือ เซลลสืบพันธุเพศเมีย และเซลลสืบพันธุเพศผู ในทางตรงกันขามเพศที่

                     ถูกกําหนดโดยโครโมโซมเพศที่เหมือนกัน เรียกวา โฮโมกามีติค เซกซ (homogametic sex) ซึ่งจะให

                     เซลลสืบพันธุแบบเดียว  ในสัตวที่มีกระดูกสันหลัง  แมลงสวนใหญและพืชบางชนิด  เชน  พืชในสกุล

                     Melandrium  เพศผูประกอบดวยคูโครโมโซมเพศที่มีขนาดรูปรางแตกตางกัน  (XY)  สวนเพศเมียมีคู
                     โครโมโซมเพศที่มีขนาดรูปรางเหมือนกัน  (XX)  อยางไรก็ตามในสัตวพวกนก  ปลา  สัตวครึ่งบกครึ่ง

                     น้ํา  และผีเสื้อกลางคืน  (moth)  บางชนิดการกําหนดเพศเปนไปในแบบตรงกันขามกลาว  คือ  เพศผู
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59