Page 59 -
P. 59

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        55






                     5.3 หนาที่ของโครโมโซมเพศ-วาย


                               หนาที่ของโครโมโซมเพศ-วายผันแปรไปขึ้นอยูกับชนิดของสิ่งมีชีวิต   ตั้งแตทําหนาที่

                     รับผิดชอบในการกําหนดเพศจนถึงไมมีสวนเกี่ยวของกับการกําหนดเพศ  ดังเชนในระบบการกําหนด
                     เพศแบบเอกซ-โอ  ในแมลงหวี่มีระบบการกําหนดเพศแบบเอกซ-วาย  แตโครโมโซมเพศ-วายไมมีผล

                     ตอการกําหนดเพศ เชน แมลงหวี่ตัวเมียที่มีโครโมโซมเพศ-วาย (XXY) ไมแสดงลักษณะทางสัณฐาน

                     วิทยาแตกตางไปจากแมลงหวี่ตัวเมียปกติ  (XX)  ในทํานองเดียวกันแมลงหวี่ตัวผูที่มีโครโมโซมเพศ-
                     วาย 2 แทง (XYY) ก็ไมแตกตางไปจากแมลงหวี่ตัวผูปกติอื่น ๆ  (X, XY และ XX) (ตารางที่ 5.1)


                               ในทางตรงกันขามคนมีโครโมโซมเพศ-วายเปนตัวกําหนดเพศผูไมวาองคประกอบของ

                     โครโมโซมเพศจะมีโครโมโซมเพศ-เอกซและวายกี่แทงก็ตาม เชน คนที่มีโครโมโซมเพศเปน XXXY,
                     XXXXY, XXXYY หรือ XXYY มีเพศเปนชาย จากการทดลองในหนู แมลง และสัตวเลี้ยงลูกดวยนม

                     อื่น ๆ ก็พบเชนเดียวกันวา โครโมโซมเพศ-วายเปนตัวกําหนดเพศผูในสัตวเหลานี้

                               ในพืชชั้นสูง Melandrium diocium มีโครโมโซมเพศ-วายเปนตัวกําหนดเพศผูเชนเดียวกับ

                     คนและสัตวเลี้ยงลูกดวยนมอื่น ๆ แตการกําหนดเพศของโครโมโซมเพศ-วายในMelandrium แตกตาง

                     ไปจากแมลงหวี่ Melandrium ที่มีองคประกอบของโครโมโซมเพศแบบ XYY, XXY และ XXXY จะ
                     เปนเพศผูทั้งหมด แต XXXXY จะเปนกระเทย (hermaphrodite) ในพืชชนิดนี้โครโมโซมเพศ-วายมี

                     ขนาดใหญกวาโครโมโซมเพศ-เอกซ (รูปที่ 5.1) ในพืชชนิดอื่น ๆ สวนมากโครโมโซมเพศ-วายจะมี

                     ขนาดเล็กกวาโครโมโซมเพศ-เอกซมาก

                               โดยปกติโครโมโซม-วายมีขนาดเล็กกวาโครโมโซมเซลลรางกาย โครโมโซมเพศ-วายมี

                     สวนที่ยอมติดสีเขมเปนสวนใหญ ซึ่งเชื่อกันวาเปนสวนที่มียีนที่ไมทําหนาที่อยูจํานวนมาก สวนยีนที่

                     ทําหนาที่มีอยูจํานวนนอย ยีนที่มีตําแหนงอยูบนโครโมโซมเพศ-วายเราเรียกวา ยีนโฮแลนดริก

                     (holandric gene) โดยพบครั้งแรกในปลา Lebistes reticulates ทําหนาที่ควบคุมจุดสีดําบนตัวปลา ใน
                     คนพบวา บนโครโมโซมเพศ-วายมียีนอยูเพียง 2 ตัวเทานั้น ซึ่งมีตําแหนงอยูบนแขนสั้นของ

                     โครโมโซม-วายใกล ๆ กับเซนโตรเมียร นอกจากนี้ยังพบลักษณะอื่น ๆ ที่อาจถูกควบคุมดวยยีนที่อยู

                     บนโครโมโซม-วายแตยังขาดหลักฐานยืนยัน

                               โครโมโซมเพศ-วายของ liverwort (Marchantia polymorph) มีขนาดเล็กกวาโครโมโซม

                     เพศ-เอกซ ประกอบดวยดีเอ็นเอที่มีลําดับเบสซ้ํา ๆ กัน (unique repeat sequence) จํานวนมากซึ่งไมพบ
                     ในโครโมโซมอื่น ๆ และโครโมโซมเพศ-วายของ liverwort เปนที่อยูของยีนควบคุมความเปนเพศผู

                     (male-specific gene)
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64