Page 61 -
P. 61

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        57






                     จึงจะพบบารบอดี 1 อัน ดังนั้นถามีโครโมโซมเพศ-เอกซ 3 อันก็สามารถคาดหวังไดวาจะตองมีบารบอ

                     ดี 2 อันเปนตน บารบอดีสามารถตรวจดูไดอยางงาย ๆ จากเซลลเยื่อบุขางแกม เซลลเยื่อบุชองปสสาวะ

                     หรือเซลลเยื่อบุชองคลอดโดยการยอมดวยสีฟุลเกนหรือกิมซา จึงทําใหบารบอดีเปนเครื่องมือที่มี
                     คุณคามากในการบงบอกเพศของสิ่งมีชีวิต


                     5.6 ดรัมสติกหรือไมตีกลอง


                               วิธีบงบอกเพศของสิ่งมีชีวิตอีกวิธีหนึ่ง  คือ  การตรวจสอบวามีดรัมสติกหรือไม  Davidson
                     และ Smith (1954) เปนคนแรกที่คนพบดรัมสติกในเซลลเม็ดเลือดขาวของคนไขหญิง เขาสังเกตุเห็น

                     วา มีจุดดําขนาดเล็กหนึ่งจุดยื่นออกมาจากนิวเคลียสซึ่งมีลักษณะพิเศษเปนกอน ๆ (lobe) ภายในเซลล

                     จุดดํานี้มีสายใยโครมาตินบาง ๆ ยึดติดกับนิวเคลียส ทําใหมองดูมีลักษณะเหมือนไมตีกลองจึงเรียกวา
                     ดรัมสติก (drumstick) (รูปที่ 5.2) แตเขาไมพบดรัมสติกในเซลลเม็ดเลือดขาวจากผูชาย ดรัมสติกไมผัน

                     แปรไปตามอายุ มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.4 – 1.6 µm ในคนผูหญิงปกติจะพบดรัมสติกประมาณ 1

                     ใน  40  เซลลเม็ดเลือดขาว  สวนในคนผูชายจะพบนอยกวา  1  ใน  500  เซลลเม็ดเลือดขาว  เนื่องจาก
                     ลักษณะและคุณสมบัติของดรัมสติกมีความสัมพันธโดยตรงกับจํานวนโครโมโซมเพศ-เอกซ

                     เชนเดียวกับบารบอดี  ดรัมสติกจึงเปนลักษณะอีกอยางหนึ่งที่สังเกตไดงายที่แสดงใหเห็นถึงความแตก

                     ตางของเซลลจากเพศที่ตางกัน
























                     รูปที่ 5.2  ดรัมสติกหรือไมตีกลองของเซลลเม็ดเลือดขาวของคนผูหญิง
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66