Page 65 -
P. 65

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        61






                                                            บทที่ 6

                                           โครโมโซมในระหวางการแบงเซลลแบบไมโตซิส

                                                  (Chromosome during Mitosis)



                     6.1 คํานํา


                               โดยปกติสิ่งมีชีวิตจะตองมีการแบงเซลล  (cell division)  ถาเปนเนื้อเยื่อเซลลรางกาย

                     (somatic tissue) การแบงเซลลเกิดขึ้นเพื่อเพิ่มจํานวนเซลล (cell multiplication) ทําใหสิ่งมีชีวิตมีขนาด

                     และรูปรางใหญขึ้น  แตถาเปนเนื้อเยื่อเซลลสืบพันธุ  (gametic tissue)  การแบงเซลลเกิดขึ้นเพื่อสราง
                     เซลลสืบพันธุสําหรับการผสมพันธุ หรือการรวมกันระหวางไข (egg) และสเปรม sperm



                               ในกระบวนการแบงเซลลรางกายทั่วไปแบงออกเปน 2 ขั้นตอน คือ 1) การแบงนิวเคลียส
                     เรียกวา  แครีโอไคเนซิส  (karyokinesis) หรือที่รูจักกันทั่วไปวาไมโตซิส  (mitosis) 2)  การแบงไซโต

                     พลาสซึม เรียกวา ไซโตไคเนซิส (cytokinesis) ในระหวางการแบงนิวเคลียสหนวยพันธุกรรมที่อยูบน

                     โครโมโซมจะถูกถายทอดไปสูนิวเคลียสใหมทั้งหมด   ติดตามดวยไซโตไคเนซิสซึ่งไซโตพลาสซึม
                     และองคประกอบตาง ๆ ในไซโตพลาสซึมจะถูกแบงออกเปน  2 สวนลอมรอบนิวเคลียสใหมทั้งสอง

                     นั้น  เนื่องจากโครโมโซมเปนตัวนําพาหนวยพันธุกรรมดังนั้นในบทนี้จะอธิบายการเกิดไมโตซิสอยาง

                     ละเอียด กระบวนการไมโตซิสแบงออกเปนขั้นตอนสําคัญ ๆ ตามลําดับดังนี้ คือ โปรเฟส (prophase)
                     เมตาเฟส  (metaphase)  อะนาเฟส  (anaphase)  และเทโลเฟส  (telophase)  อยางไรก็ตามเพื่อใหเขาใจ

                     ถึงวัฎจักรเซลล (cell cycle) ทั้งหมด ก็ควรจะทราบถึงกระบวนการที่เกิดขึ้นในระยะกอนเริ่มการแบง

                     เซลลแบบไมโตซิส ซึ่งเรียกวา ระยะอินเตอรเฟส (interphase)


                     6.2 ระยะอินเตอรเฟส


                               ในระยะนี้สายใยโครมาตินซึ่งบรรจุวัสดุพันธุกรรม (genetic material) กระจายอยูทั่วไปใน

                     นิวเคลียสของเซลล ในบางครั้งอาจเห็นนิวคลีโอลัส และโครโมเซนเตอรซึ่งเปนบริเวณที่ยอมติดสีเขม

                     ดวย (รูปที่ 6.1 และ 6.2) อินเตอรเฟสเปนชวงที่ยาวที่สุดของวัฎจักรเซลล เนื่องจากที่ระยะนี้เซลลมีการ
                     สะสมวัตถุดิบ  พลังงาน  และมีการสังเคราะหสารอินทรียตาง  ๆ  ที่จําเปนสําหรับการแบงเซลล

                     อินเตอรเฟสยังแบงยอยออกไดอีกเปน 3 ระยะ คือ ระยะจี-1 (G  หรือ gap-1 period) ระยะเอส (S หรือ
                                                                         1
                     synthesis period) และระยะจี-2 (G  หรือ gap-2 period) (รูปที่ 6.3) ในระยะจี-1 เซลลมีการเตรียม
                                                  2
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70