Page 68 -
P. 68

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        64






                     ตัวเพื่อสังเคราะหดีเอ็นเอ (DNA synthesis) โดยโครโมโซมมีการคลายตัวออก ตอมาระยะเอสจะมีการ

                     สังเคราะหดีเอ็นเอเพื่อสรางจําลองแบบโครโมโซมใหม (chromosome replication)























                     รูปที่ 6.3  วัฎจักรเซลลซึ่งประกอบดวยระยะการแบงเซลลแบบไมโตซิส (M) ระยะจี-1 (G ) ระยะเอส
                                                                                                 1
                               (S) และระยะจี-2 (G )
                                               2

                               การสังเคราะหดีเอ็นเอก็คือ  การสรางจําลองแบบโมเลกุลดีเอ็นเอใหม  (DNA replication)

                     กลไกการสรางจําลองแบบโมเลกุลดีเอ็นเอใหมเปนไปในแบบที่เรียกวา semidiscontinuous replication
                     โดยดีเอ็นเอเกลียวคู (double stranded DNA) จะคลายเกลียว (unwinding) และแยกออกจากกันเปนดี

                     เอ็นเอสายเดี่ยว  (single stranded DNA)  โดยอาศัยเอนไซม  2  ชนิด  คือ  DNA gyrase  หรือ

                     topoisomerase ซึ่งจะทําหนาที่ตัดดีเอ็นเอสายใดสายหนึ่งใหขาดจากกันเพื่อใหดีเอ็นเอคลายเกลียวออก
                     จากกันได จากนั้นเอนไซม helicase จะทําหนาที่คลายเกลียวของดีเอ็นเอใหแยกออกจากกันเปนดีเอ็น

                     เอสายเดี่ยว  2  สาย  จุดที่ดีเอ็นเอเกลียวคูแยกออกจากกันเรียกวา  replication fork  จากนั้นดีเอ็นเอสาย

                     แรก (leading strand) จะสรางดีเอ็นเอสายใหมที่มีเบสสอดคลองกับดีเอ็นเอสายเดิม (complementary)

                     จากปลายดาน 3′ ไป 5′ โดยอาศัยเอนไซม DNA polymerase และดีเอ็นเอที่สรางขึ้นใหมมีลักษณะเปน
                     เสนสายยาวตอเนื่องกัน (continuous)  สวนดีเอ็นเออีกสายหนึ่ง (lagging strand)  จะสรางดีเอ็นเอสาย

                     ใหมชากวาและสรางเปนทอนสั้น ๆ ไมตอเนื่องกัน (discontinuous) (รูปที่ 6.4) ชิ้นสวนดีเอ็นเอทอน

                     สั้น ๆ เหลานี้เรียกวา Okazaki fragment ซึ่งแตละทอนมีความยาว 1,000 – 2,000 คูเบสในสิ่งมีชีวิตชั้น
                     ต่ํา และ 100-200 คูเบสในสิ่งมีชีวิตชั้นสูง จุดที่ดีเอ็นเอเกลียวคูแยกออกจากกันจะเคลื่อนที่ไปเรื่อย ๆ

                     ตามความยาวที่เพิ่มขึ้นของดีเอ็นเอสายใหมที่ถูกสรางขึ้น
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73