Page 73 -
P. 73
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
69
6.3 ระยะโปรเฟส
โปรเฟสเปนระยะเริ่มแรกของกระบวนการไมโตซิส ในระยะนี้โครโมโซมจะปรากฏตัว
ใหเห็นเปนเสนดายเล็ก ๆ เนื่องจากการขดตัว (coiling) และการพับไปมา (folding) ของสายใยโครมา
ติน แตละโครโมโซมจะประกอบดวยโครมาติด 2 สายอยูแนบชิดกัน อันเปนผลมาจากการสราง
จําลองแบบโครโมโซมในระยะอินเตอรเฟส การขดตัวและพับไปมาของโครโมโซมทําใหโครโมโซม
มีรูปรางสั้นลงเหมาะสมตอการเคลื่อนยาย
ในระยะโปรเฟสนิวคลีโอลัสของสิ่งมีชีวิตสวนมากจะสลายตัวไป จากการสองดูดวยกลอง
จุลทรรศนอิเลคตรอน พบวา องคประกอบของนิวคลีโอลัสกระจายอยูทั่วไปในนิวเคลียสที่ระยะนี้ ใน
สิ่งมีชีวิตชั้นต่ําบางชนิดนิวคลีโอลัสยังคงอยูในนิวเคลียสจนถึงระยะเมตาเฟสและอะนาเฟส และใน
ที่สุดจะถูกแบงออกเปนสองสวนแลวแยกไปอยูในเซลลลูกทั้งสอง
ในชวงทายของระยะโปรเฟสเยื่อหุมนิวเคลียส (nuclear membrane) จะสลายตัวไปดวย ทํา
ใหโครโมโซมกระจายออกไปอยูทั่วเซลล และเริ่มเคลื่อนที่สูบริเวณกลางเซลล พรอมกันนั้น
สายใยสปนเดิล (spindle fiber) จากเซนตริโอล (centriole) จะปรากฏใหเห็นที่ขั้วเซลลแตละขั้ว
จากการตรวจดูดวยกลองจุลทรรศนอิเลคตรอน พบวา ชิ้นสวนที่แตกหักของเยื่อหุม
นิวเคลียสจะกระจายเขาไปอยูในไซโตพลาสซึมและกลายเปนเอนโดพลาสมิค เรติคิวลัม
(endoplasmic reticulum) ดังนั้นจึงเปนไปไดที่วาเยื่อหุมนิวเคลียสอาจมีกําเนิดมาจากเอนโดพลาสมิค
เรติคิวลัม ยกเวนในโปรโตซัวและเชื้อราเยื่อหุมนิวเคลียสจะคงอยูตลอดเวลาการแบงเซลลแบบไมโต
ซิส
6.4 ระยะเมตาเฟส
ที่ระยะเมตาเฟสโครโมโซมจะมีการขดตัวมากที่สุด ทําใหโครโมโซมมีขนาดสั้นที่สุดและ
หนาที่สุด จึงมองเห็นรูปรางของโครโมโซมไดอยางชัดเจน คุณสมบัติดังกลาวเหมาะสมสําหรับ
การศึกษาแครีโอไทปของสิ่งมีชีวิต โครโมโซมจะมาเรียงรายกันอยูบริเวณแนวกลางเซลลที่เรียกวา
อิเควทอเรียล เพลต (equatorial plate) โดยมีสายใยสปนเดิลเปนตัวยึดที่ตรงเซนโตรเมียร โครมาติดทั้ง
สองไมพันกันแตจะอยูคูกันตามแนวยาว ระยะเมตาเฟสจะสั้นกวาระยะโปรเฟส แตยาวกวาระยะอะนา
เฟส ในชวงทายของระยะเมตาเฟสโครมาติดทั้งสองของแตละโครโมโซมจะขาดหลุดออกจากกันตาม
แนวยาวของเซนโตรเมียร ทําใหโครมาติดแตละสายแยกออกจากกันเปนอิสระ และกลายเปน
โครโมโซมลูก (daughter chromosome) ตอไป การแยกตัวออกจากกันของโครมาติดจะเกิดขึ้นพรอม