Page 78 -
P. 78
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
74
7.2 ระยะพรีไมโอติค อินเตอรเฟส
ระยะนี้คลายคลึงกับระยะอินเตอรเฟสของการแบงเซลล แบบไมโตซิส โดยในระยะเอส (S
period) โครโมโซมมีการสรางจําลองแบบโครโมโซมใหม แตระยะเอสของการแบงเซลลแบบไมโอ
ซิสยาวกวาของไมโตซิส
7.3 ระยะโปรเพส I
ลักษณะที่สําคัญของระยะนี้ คือ นิวเคลียสมีการขยายขนาดเพิ่มขึ้นมาก และมากกวาการ
ขยายขนาดของนิวเคลียสในระยะโปรเฟสของการแบงเซลลแบบไมโตซิส นอกจากนี้ที่ระยะโปรเฟส
I ยังยาวกวาระยะโปรเฟสของการแบงเซลลแบบไมโตซิส ที่ระยะโปรเฟส I โครโมโซมมีการทํา
หนาที่พิเศษแตกตางไปจากระยะโปรเฟสของไมโตซิส ดังนี้ (1) การเขาคูแนบชิดกันของโครโมโซมคู
เหมือน (synapsis) (2) การแลกเปลี่ยนชิ้นสวนระหวางโครมาติดของโครโมโซมคูเหมือน (chromatid
exchange) และ (3) การแยกตัวของโครโมโซมคูเหมือนออกจากกัน ระยะโปรเฟส I ยังแบงเปน
ขั้นตอนยอย ๆ อีก 5 ขั้นตอน ดังนี้
ก. เลปโททีน ที่ระยะนี้โครโมโซมจะปรากฏใหเห็นเปนเสนสายเล็ก ๆ ยาว ๆ และมีปม
คลายลูกปด (bead like structure) ที่เรียกวา โครโมเมียร (chromomere) เรียงรายอยูตลอดสาย
โครโมโซม ที่ระยะนี้ยังไมสามารถมองเห็นสายโครมาติดที่ไดจากการสรางจําลองแบบโครโมโซม
ใหมที่เกิดขึ้นในระยะยอย S ของระยะอินเตอรเฟส
ข. ไซโกทีน โครโมโซมมีขนาดสั้นลงแตหนาขึ้น เนื่องจากการขดตัวของโครโมโซม
กลไกการขดตัวของโครโมโซมจะเหมือนกับที่เกิดขึ้นในการแบงเซลลแบบไมโตซิสเพียงแตซับซอน
กวา ที่ระยะนี้โครโมโซมคูเหมือนจะมาจับคูแนบชิดกันตามความยาว (synapsis) คลายกับการรูดซิบ
ปดโดยเริ่มที่จุดใดจุดหนึ่งหรือหลาย ๆ จุดบนโครโมโซม อยางไรก็ตามการจับคูแนบชิดกันของ
โครโมโซมอาจไมเกิดขึ้นตลอดความยาวของโครโมโซม ถาโครโมโซมคูเหมือนนั้นมีบางสวนที่ไม
เหมือนกัน เชน โครโมโซมเพศ แตโดยทั่วไปการจับคูกันของโครโมโซมคูเหมือนจะแนนอน และ
เฉพาะเจาะจงแบบยีนตอยีน
ค. พะคีทีน โครโมโซมมีการขดตัวสั้นมากยิ่งขึ้น การจับคูกันของโครโมโซมเสร็จสิ้นโดย
สมบูรณในระยะนี้ เรียกแตละคูโครโมโซมนี้วา ไบวาเลนต (bivalent) ซึ่งประกอบดวยโครมาติด 4
สาย หรือบางครั้งเรียกวา เตตแตรด (tetrad) นิวคลีโอลัสจะปรากฏใหเห็นในระยะนี้