Page 74 -
P. 74

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        70






                     กันทุกโครโมโซม ถึงแมวาจะตองรอโครโมโซมอันใดอันหนึ่งซึ่งเคลื่อนตัวเขาสูตรงกลางเซลลชากวา

                     ปกติ (laggard)


                     6.5 ระยะอะนาเฟส



                               อะนาเฟสเปนระยะที่กินเวลาสั้นที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับระยะอื่น  ๆ  ของการแบงเซลล
                     แบบไมโตซิส  ที่ระยะนี้โครโมโซมลูกที่เกิดจากโครโมโซมสายเดิมจะเคลื่อนที่แยกออกจากกันและ

                     กันเขาสูขั้วตรงขามของเซลลอยางรวดเร็ว  โดยอาศัยการหดตัวของสายใยสปนเดิลที่เชื่อมโยงกับเซน

                     โตรเมียร   การลากโครโมโซมใหเคลื่อนที่เขาสูขั้วเซลลโดยสายใยสปนเดิลทําใหโครโมโซมแสดง
                     รูปรางลักษณะแตกตางกันแลวแตตําแหนงของเซนโตรเมียร  เชน  รูปตัววี  (V-shape)  รูปตัวแอล  (L-

                     shape) รูปตัวเจ (J-shape) และรูปแทง (rod shape) โครโมโซมบางอันมีลักษณะผิดปกติ กลาวคือ มี

                     เซนโตรเมียร 2 อัน เรียกวา ไดเซนตริก (dicentric) โดยปกติเซนโตรเมียรทั้งสองจะเคลื่อนที่แยกออก
                     จากกันไปคนละขั้วเซลล ทําใหโครโมโซมมีรูปรางคลายสะพาน เรียกวา อะนาเฟส บริคจ (anaphase

                     bridge) และในที่สุดโครโมโซมจะขาดจากกันตรงจุดใดจุดหนึ่งในระหวางเซนโตรเมียรทั้งสอง


                     6.6 ระยะเทโลเฟส



                               ระยะนี้เริ่มขึ้นเมื่อโครโมโซมลูกแตละสายเคลื่อนที่ถึงขั้วเซลลทั้งสอง   และเริ่มคลายตัว
                     (uncoiling)  ออกจากกันจนกลายเปนสายใยโครมาตินเพื่อเตรียมตัวเขาสูระยะอินเตอรเฟสใหม  ใน

                     ขณะเดียวกันจะเกิดเยื่อหุมนิวเคลียสลอมรอบโครโมโซมที่ขั้วเซลลทั้งสองทําใหเกิดนิวเคลียสใหม  2

                     อัน  ซึ่งมีองคประกอบและคุณสมบัติเหมือนกัน  นอกจากนี้มีการสรางนิวคลีโอลัสที่บริเวณนิวคลี
                     โอลัส อารกาไนเซอรของโครโมโซม และโครโมเซนเตอรก็ปรากฏใหเห็นอีกครั้งในระยะนี้



                               ในขณะเดียวกันกระบวนการไซโตไคเนซิสก็เกิดขึ้น  การแบงไซโตพลาสซึมในเซลลสัตว
                     เกิดจากเยื่อหุมเซลลตรงบริเวณแนวกลางเซลลจะคอดเขาหากันจนไซโตพลาสซึมถูกแบงแยกออกเปน

                     2 สวน และกลายเปนเซลลใหม 2 เซลลในที่สุด สําหรับในเซลลพืชกระบวนการไซโตไคเนซิสเกิดขึ้น

                     โดยเซลลจะสรางผนังบาง ๆ (cell plate) กั้นตรงบริเวณแนวกลางเซลล ซึ่งตอไปจะมีสารมาสะสมจน

                     เปลี่ยนสภาพเปนผนังเซลลที่สมบูรณ (cell wall) กั้นแยกเซลลออกจากกันเปนสองสวน วัฎจักรเซลล
                     สิ้นสุดลงที่ระยะนี้และเซลลลูกทั้งสองจะเขาสูระยะอินเตอรเฟสใหมตอไป


                     6.7 ปริมาณดีเอ็นเอในนิวเคลียสระหวางการแบงเซลลแบบโมโตซิส



                               โดยปกติเซลลรางกาย (somatic cell) จะมีโครโมโซม หรือยีโนม (genome) 2 ชุด ชุดหนึ่ง
                     มาจากพอ  และอีกชุดหนึ่งมาจากแม  ในระยะอินเตอรเฟสที่ระยะยอย  G   นิวเคลียสของเซลลจะมี
                                                                                    1
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79