Page 56 -
P. 56

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        52






                               ในพืชอื่น  ๆ  ที่การกําหนดเพศถูกควบคุมโดยโครโมโซมเพศ-เอกซ  และวาย  เชน  Rumex,

                     Silene, spinach, hemp, liverwort และ asparagus โครโมโซมเพศทั้งสองมีรูปรางลักษณะไมแตกตางไป

                     จากโครโมโซมเซลลรางกายมากนัก  ทําใหการจัดทําแครีโอไทปเปนไปดวยความยากลําบาก

                               การกําหนดเพศในระบบเอกซ-วายของสิ่งมีวิต นอกจากจะขึ้นอยูกับชนิดของโครโมโซม

                     เพศแลว ยังขึ้นอยูกับชุดของโครโมโซมเซลลรางกายดวย เชน ในแมลงหวี่ การกําหนดเพศขึ้นอยูกับ
                     อัตราสวนระหวางโครโมโซมเพศ-เอกซกับโครโมโซมเซลลรางกาย (A) โดยที่โครโมโซมเพศ-วาย ไม

                     มีบทบาทตอการกําหนดเพศ Bridge (1932) ไดทําการผสมพันธุระหวางแมลงหวี่ตัวเมียที่เปนทริพลอยด
                     (2n = 3x = 12) กับตัวผูที่เปนดิพลอยด (2n = 2x = 8) ไดลูกที่มีองคประกอบของโครโมโซมเพศ (X)

                     และโครโมโซมเซลลรางกาย (A) หลายรูปแบบ (ตารางที่ 5.1) นอกจากนี้ Bridges ยังไดสังเกตเห็นถึง
                     ความแตกตางของความเปนเพศผู (maleness)  และเพศเมีย (femaleness)  เขาจึงไดกําหนดสมดุลของ

                     ความเปนเพศผูและเพศเมีย โดยอาศัยอัตราสวนระหวางโครโมโซมเพศเมียและโครโมโซมเซลล
                     รางกาย (X/A)  ในกรณีนี้โครโมโซมเพศผู (Y)  ไมมีบทบาทตอการกําหนดเพศในแมลงหวี่ ผลจาก

                     การศึกษาครั้งนี้ Bridges  สามารถกําหนดเพศของแมลงหวี่ ไดดังนี้ แมลงหวี่เพศเมียปกติ (normal
                     female) เกิดจากความสมดุลของโครโมโซมเพศเมียและโครโมโซมเซลลรางกาย (X/A = 1) สวนแมลง

                     หวี่เพศผูปกติ (normal male) เปนผลมาจากชุดของโครโมโซมเซลลรางกายมีมากกวาโครโมโซมเพศ
                     เมีย (X/A = 0.5)  โครโมโซมเพศเมียดูเหมือนวาจะมีอิทธิพลตอการพัฒนาเปนเพศเมีย ในขณะที่

                     โครโมโซมเซลลรางกายมีอิทธิพลตอการพัฒนาเปนเพศผู ความไมสมดุลระหวางโครโมโซมเพศเมีย
                     และโครโมโซมเซลลรางกายจะทําใหแมลงหวี่ที่มีความเปนเพศเมียสูงกวาปกติ (superfemale) หรือมี

                     ความเปนเพศผูสูงกวาปกติ (supermale) หรือเปนกระเทย (intersex)

                               ในพืชสกุล  Melandrium  การกําหนดเพศขึ้นอยูกับสมดุลระหวางโครโมโซมเพศเมียและผู

                     (X/Y) โดยโครโมโซมเพศ-วายมีสวนในการกําหนดความเปนเพศผูดวย (ตารางที่ 5.1) การกําหนดเพศ
                     ในคนก็คลายคลึงกับในพืช  Melandrium  แตการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของจํานวนโครโมโซมเพศเมียและผู

                     (ตารางที่ 5.2) จะทําใหเกิดโรคทางพันธุกรรมชนิดตาง ๆ เชน คนที่มีองคประกอบโครโมโซมเพศเปน
                     XXY  จะแสดงออกเปนเพศชาย  แตเปนหมันและมีการเจริญของเตานมเหมือนผูหญิง  มีแขนขายาวกวา

                     ปกติ  ปญญาออน (mental retarded) เรียกอาการผิดปกตินี้วา ไคลเนเฟลเตอร ซินโดรม (Klinefelter’s
                     syndrome)  หรือคนที่มีโครโมโซมเพศ  XO  จะแสดงออกเปนเพศหญิง  แตเปนหมัน  มีลําคอกวางเปน

                     แผน  (web neck)  หูต่ํากวาระดับตา  และปญญาออน  เรียกอาการผิดปกตินี้วา  เทิรนเนอร  ซินโดรม
                     (Turner’s syndrome)
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61