Page 48 -
P. 48

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        44






                     4.6 การทําแผนที่ยีน



                               การทําแผนที่ยีน (genetic mapping) คือ การกําหนดตําแหนงและระยะหางระหวางยีนบน
                     โครโมโซม โดยขั้นตอนแรกจะตองหาวายีนที่ตองการทราบนั้นอยูในกลุมยีนใดแลวจึงหาวายีนนั้นอยู

                     หางจากยีนที่เราทราบตําแหนงแลวเปนระยะทางเทาใด  โดยสมมุติวายีนทุกตัวเรียงกันเปนเสนตรงบน

                     โครโมโซม  การหาลําดับของยีนบนโครโมโซมจะหาไดโดยวิธีที่เรียกวา  การผสมทดสอบสามจุด

                     (three-point testcross) ซึ่งคิดคนขึ้นโดย Sturtevant (1915) เพื่อหาตําแหนงของยีน 3 คู สมมุติวา ลําดับ
                     ของยีนทั้งสามบนโครโมโซม คือ abc ในการหาจะตองทําการผสมทดสอบ (testcross) ระหวางพอแม

                     ที่มีพันธุกรรมเปนเฮตเทอโรไซกัส (+++/abc) กับโฮโมไซกัสของยีนทั้งสามตําแหนง (abc/abc) ลูกที่

                     ไดจากการผสมจะมีพันธุกรรมเปน 4 แบบ ดังนี้

                               +++/abc           non-crossover parental individuals
                               abc/abc



                               +bc/abc           single crossover recombinants, class 1
                               a++/abc



                               ++c/abc           single crossover recombinants, class 2
                               ab+/abc



                               +b+/abc           Double crossover individuals

                               a+c/abc



                                       +          I           +          II          +








                                        a                     b                      c
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53