Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        40






                        4.3.4  แบบจําลองโพลารอน ไฮบริด ดีเอ็นเอ (Polaron hybrid  DNA  model) Whitehouse

                     (Whitehouse, 1965; Whitehouse and Hastings, 1965) เปนผูเสนอแบบจําลองนี้ ซึ่งจะอธิบายโดยอาศัย

                     แผนภาพที่ไดแสดงไวในรูปที่ 4.5 แผนภาพนี้แสดงการเกิดครอสซิงโอเวอรระหวางโครมาติด 2 เสน

                     เทานั้นจากทั้งหมด 4 เสน ในรูป 4.5 A แสดงโครมาติดที่มิใชพี่นองกัน 2 เสน แตละเสนประกอบดวย
                     ดีเอ็นเอเกลียวคู 1 สาย เสนในแนวนอนแทนเสนสายโพลีนิวคลีโอไทดโดยมีลูกศรเปนตัวชี้ทิศทาง

                     แกนหลักของน้ําตาลกับฟอสเฟตและเปนตัวกําหนดความยาวของโพลารอน (polaron) โพลารอน คือ

                     หนวยของโครโมโซมที่ถูกแบงออกเปนจุดลิงเกจ (linkage point) ซึ่งเปนจุดเริ่มตนที่เกิดครอสซิงโอ
                     เวอร เสนสั้นในแนวตั้งแทนพันธะไฮโดรเจนระหวางเบสของคูสายโพลีนิวคลีโอไทด รูป B แสดงการ

                     แตกหักที่ปลายขางหนึ่งของสายโพลีนิวคลีโอไทดของโครมาติดทั้งสองที่มิใชพี่นองกัน โดยสายโพลี

                     นิวคลีโอไทดที่แตกหักจะแยกตัวออกจากโพลีนิวคลีโอไทดสายเดิม โพลีนิวคลีโอไทดสายเดิมจึง

                     สรางโพลีนิวคลีโอไทดสายใหม (รูป C) เมื่อสรางเสร็จโพลีนิวคลีโอไทดสายใหมจะแยกตัวออกจาก
                     โพลีนิวคลีโอไทดสายเดิมอีก (รูป D) ตอจากนั้นโพลีนิวคลีโอไทดสายเดิมที่แตกหักจะจับคูกับโพลี นิ

                     วคลีโอไทดสายใหมเปนโพลีนิวคลีโอไทดสายผสม เพื่อสรางดีเอ็นเอเกลียวคูสายใหม (รูป E) ชองวาง

                     ระหวางโพลีนิวคลีโอไทดสายเดิมกับสายใหมจะถูกเติมใหเต็มโดยชิ้นสวนนิวคลีโอไทดที่เปนคูกัน
                     (complementary) (รูป F) โพลีนิวคลีโอไทดสายเดิมที่ไมมีคูจะถูกยอยสลายสูญหายไป (รูป G, H) ซึ่ง

                     ครอสซิงโอเวอรจะเสร็จสิ้นลงในตอนนี้

























                     รูปที่ 4.5  แผนภาพแบบจําลองโพลารอน ไฮบริด ดีเอ็นเอของการเกิดครอสซิงโอเวอร
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49