Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        37






                     ตารางที่ 4.1  ลักษณะตาง ๆ ในแมลงหวี่ที่ถูกควบคุมดวยยีนในกลุมลิงเกจ 4 กลุม สัญลักษณของแตละ

                                 ยีนแสดงไวในวงเล็บ


                           กลุมที่ 1            กลุมที่ 2            กลุมที่ 3            กลุมที่ 4
                     ตัวสีเหลือง (y)       ปกทู (dp)          ตาสีแดงไหม (se)      ปกโคงลง (bt)

                     ตาสีขาว (w)           ตัวสีดํา (b)         ตาสีสคารเลต (st)     ขนาดตาเล็ก (ey)
                     ปกหยัก (ct)          ตาสีมวง (pr)        ตัวสีดําคล้ํา (e)
                     ตาสีแดงเขม (v)       ปกกุด (vg)          ตาขรุขระ (ro)

                     ปกสั้น (m)           ปกโคงขึ้น (c)      ตาสีคลาเรต(ca)
                     ขนเปนงาม (f)        ตาสีน้ําตาล (bw)
                     ตาบาร (B)

                     ตาสีคารเนชัน (car)




                               อยางไรก็ตามจํานวนไคแอสมาตอหนึ่งโครโมโซมคูเหมือนจะขึ้นอยูกับความยาวของ

                     โครโมโซม และไมแตกตางกันมากนักระหวางเซลลหนึ่งกับอีกเซลลหนึ่ง เชน โครโมโซมเพศ- เอกซ
                     ของแมลงหวี่มีจํานวนไคแอสมา 0-3 ตําแหนงตอหนึ่ง Coyote  ไคแอสมาที่อยูใกลกันจะไมเปนอิสระ

                     จากกัน เนื่องจากไคแอสมาที่เกิด ณ ที่หนึ่งจะไปกดการเกิดไคแอสมาอีกแหงหนึ่งที่อยูติดกัน

                     ปรากฏการณนี้เรียกวา ไคแอสมา อินเตอรเฟอเรนซ (chiasma interference)  หรือ ครอสโอเวอร
                     อินเตอรเฟอเรนซ (crossover interference)


                               ผลที่เกิดจากครอสซิงโอเวอรจะไดเซลลสืบพันธุ 2 ชนิด คือ ชนิดที่มียีนอยูดวยกันบน

                     โครโมโซมตามแบบเดิมของพอแมเรียกวา พาเรนทอลไทป (parental type) เชน AB และ ab กับชนิดที่

                     มีการจัดเรียงตัวของยีนแบบใหม เรียกวา รีคอมบิเนชัน (recombination) เชน Ab และ aB












                     รูปที่ 4.1    (A) การเกิดครอสซิงโอเวอรระหวางโครมาติดทั้งสองของโครโมโซมคูเหมือน (AB/ab)

                               ทําใหเกิดการรวมตัวของยีนแบบใหม (Ab กับ aB) ในเซลลสืบพันธุ (B) ผลของการเกิด
                               ดับเบิลครอสซิงโอเวอร
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46