Page 42 -
P. 42

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                        38






                     4.3 กลไกการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซม



                               กลไกการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครมาติดของโครโมโซมคูเหมือนหรือครอสซิงโอเวอรยัง
                     ไมเปนที่เขาใจกัน เนื่องจากความรูทางดานโครงสรางระดับโมเลกุลของโครโมโซมยังไมเพียงพอที่จะ

                     อธิบายถึงกลไกการเกิดนี้ได จึงทําใหเกิดสมมุติฐานหรือทฤษฎีตาง ๆ ที่พยายามอธิบายกระบวนการ

                     แลกเปลี่ยนชิ้นสวนโครโมโซมในระหวางการแบงเซลลแบบไมโอซิส แตในที่นี้จะกลาวถึงเพียงบาง

                     สมมุติฐานเทานั้น
                        4.3.1  ทฤษฎีพารเชียล ไคแอสมาไทป (partial chiasmatype theory) Janssens (1909) เปนผูเสนอ

                     ทฤษฎีนี้และไดรับการยอมรับวาเปนทฤษฎีที่สามารถอธิบายถึงความสัมพันธระหวางไคแอสมาที่

                     มองเห็นไดในเซลลกับการเกิดครอสซิงโอเวอร ทฤษฎีนี้อธิบายวา ไคแอสมา คือ จุดที่โครโมโซมเกิด
                     การแตกหักและตามดวยการแลกเปลี่ยนชิ้นสวนซึ่งกันและกันระหวางโครมาติดที่มิใชพี่นองกัน (non-

                     sister chromatid) (รูปที่ 4.2) โดยปกติครอสซิงโอเวอรจะเกิดขึ้นที่จุดใด ๆ ก็ไดระหวางโครมาติด 2

                     เสนจากทั้งหมด 4 เสน แตครอสซิงโอเวอรก็อาจเกิดขึ้นระหวางโครมาติด 3 เสน และ 4 เสนได (three-
                     and four-strand crossing over)













                     รูปที่ 4.2    การเกิดครอสซิงโอเวอรตามทฤษฎีพารเซียส ไคแอสมาไทป (A) ไคแอสมาที่มองเห็นดวย

                               ตาจํานวน 4 แหงบนโครโมโซมคูเหมือนในระยะพะคีทีน (B) ไคแอสมาเริ่มเคลื่อนที่ไป

                               ทางปลายโครโมโซมในระยะไดอะไคเนซิส


                        4.3.2  สมมุติฐานเบลลิง  (Belling hypothesis)  สมมุติฐานของ  Belling (1933)  ไดเชื่อมโยงการ

                     เกิดครอสซิงโอเวอรกับการสรางโครมาติดใหมของโครโมโซม  โดยโครโมโซมคูเหมือนจะมาพันกัน
                     ในขณะที่กําลังสรางโครมาติดใหมขนานไปกับโครโมโซมเดิม (รูปที่ 4.3) ดังนั้นโครมาติดที่สรางขึ้น

                     ใหมจึงประกอบดวยชิ้นสวนโครโมโซมเดิมและโครโมโซมใหม  ขั้นตอนการสรางโครมติดใหมจะ

                     เริ่มจากการสรางโครโมเมียรกอน  (รูปที่  4.3A)  แลวจึงสรางเสนใยมาเชื่อมตอระหวางโครโมเมียร
                     เหลานี้ (รูปที่ 4.3B) ตามสมมุติฐานนี้ครอสซิงโอเวอรจะเกิดขึ้นกับเฉพาะโครมาติดที่ถูกสรางขึ้นใหม

                     ดังนั้นครอสซิงโอเวอรจะเกิดขึ้นระหวางโครมาติด 3 เสน และ 4 เสนจึงเปนไปไมได
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47