Page 44 -
P. 44
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
38
โครสร้างพืช
เนื้อเยื่ออื่น อาจแบ่งตามสารที่มีอยู่หรือขับออกมา เช่น ต่อมเกลือ ต่อมเมือก ต่อมน้ ามัน และต่อม
น้ าหวาน ส าหรับต่อมน้ าหวาน อาจเกิดขึ้นบนส่วนของดอก ล าต้น ใบ และก้านดอก เป็นต่อมที่ขับ
สารละลายที่มีน้ าตาลจากท่อน้ าท่ออาหาร secretory cell ส่วนใหญ่มักจะมีรูปร่างแตกต่างจากเซลล์อื่นๆ
ที่อยู่ใกล้เคียงอย่างเห็นได้ชัด (ภาพที่ 2.18)
gland
trichrome
(ภาพโดย กมรินทร์ พรหมรัตน์รักษ์)
ภาพที่ 2.18 รูปร่างของ ต่อม (gland) และ ขน (trichrome) ที่พบบนใบของ Cannabis sativa
สรุป
7. โครงสร้างของพืชประกอบขึ้นมาจากกลุ่มเซลล์ที่รวมกันท าหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่ง เรียกว่า เนื้อ
เยื้อ (tissue) เนื้อเยื่อที่อยู่รวมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อ เป็นอวัยวะประกอบเป็นส่วนต่างๆของพืช
เนื้อเยื่อพืชมีความแตกต่างกันทั้งด้าน รูปร่าง หน้าที่ ต าแหน่งที่อยู่ ลักษณะของผนังเซลล์ และ
กิจกรรมทางสรีรวิทยาของเนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อพืชสามารถจ าแนกออกเป็น 2 ชนิด คือ 1) เนื้อเยื่อ
เจริญ (meristematic tissue) 2) เนื้อเยื่อถาวร (permanent tissue)
8. เนื้อเยื่อเจริญ ประกอบด้วยกลุ่มเซลล์ที่ก าลังเจริญและมีการแบ่งเซลล์ เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด
และปลายราก ท าให้เกิดการเติบโตและพัฒนาของรากและล าต้นด้านยาว ขณะที่ vascular
cambium และ cork cambium ท าให้มีการเติบโตและพัฒนาทางด้านข้าง
9. เนื้อเยื่อถาวร เป็นเนื้อเยื่อที่เปลี่ยนแปลงมาจากเซลล์ของเนื้อเยื่อเจริญเพื่อไปท าหน้าที่เฉพาะ
อย่าง บางชนิดประกอบด้วยเซลล์ที่มีชีวิตที่เจริญเต็มที่หรือขณะท าหน้าที่ยังมีโปรโตพลาสซึม อยู่
เช่น เนื้อเยื่อพาเรนไคมา บางชนิดเป็นเซลล์ที่ไม่มีชีวิตซึ่งเมื่อเจริญต่อมาแล้วระยะหนึ่งหรือเมื่อ
เจริญเต็มที่แล้ว โดยในขณะที่ท าหน้าที่ไม่มี โปรโตพลาสซึม เช่น เนื้อเยื่อ sclerenchyma, vessel
10. เนื้อเยื่อ epidermis มักมีผนังบาง ประกอบด้วยไขมันพวกคิวตินที่สะสมอยู่ภายในผนังเซลล์ และ
ด้านนอกของผนังเซลล์ epidermis อาจมีเซลล์คุม (guard cells) ซึ่งเมื่อรวมกับ stomatal pore
รศ. ดร. ลิลลี่ กาวีต๊ะ