Page 41 -
P. 41

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                  35
                                                                                   เนื้อเยื่อพืช


                    นอกจากนี้ parenchyma  บางกลุ่มในท่อน้ ามีการเรียงตัวขวางล าต้นเพื่อช่วยในการล าเลียง

            เรียกว่า xylem ray หรือ wood ray
                    4). xylem fiber  มีลักษณะที่ส าคัญ คือ

                        เป็น fiber ที่เปลี่ยนแปลงมาจาก tracheid เพื่อเพิ่มความแข็งแรง

                        เซลล์รูปร่างยาว ผนังเซลล์ขั้นที่สองมีการสะสมลิกนินที่เรียกว่า lignified wall ซึ่งหนากว่า
                         fiber


                    กลุ่มท่อล าเลียงอาหาร (phloem)


                   เป็นกลุ่มเนื้อเยื่อถาวรหลายชนิดที่มาท าหน้าที่ในการล าเลียงอาหาร  โดยเฉพาะสารอาหารที่ได้

            จากการสังเคราะห์แสงจากใบเพื่อส่งไปยังส่วนต่างๆ ของพืชส าหรับใช้ในการเจริญเติบโตและเก็บสะสม

            ไว้ เรียกการล าเลียงอาหารนี้ว่า  translocation กลุ่มท่ออาหารประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 4 ชนิด คือ
                         1). sieve-tube member

                         2). companion cell
                         3). phloem parenchyma

                         4). phloem fiber

                    sieve-tube member, sieve cell และ companion cell อาจเรียกรวมกันว่า  sieve elements
                    1). sieve-tube member  มีลักษณะที่ส าคัญ คือ

                        เป็นเซลล์ที่มีชีวิต

                        มีรูปร่างยาว  ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ที่ต่อกันเป็นท่อยาวเรียกว่า sieve-tube  พืช
                         พวก gymnosperm (สน) ไม่มี sieve-tube  แต่มี seive cell ซึ่งเป็นเซลล์เดียวที่มีความ

                         ยาวมาก ท าหน้าที่แทน  sieve-tube เซลล์เหล่านี้ไม่มี sieve plate  และอาหารจะผ่าน

                         ทาง sieve area ซึ่งเป็นรูที่มีขนาดเล็ก  และไม่มี companion cell
                        เมื่อยังมีอายุน้อย โปรโตพลาสยังคงมีนิวเคลียส  แต่เมื่อเจริญเต็มที่แล้ว นิวเคลียสจะ

                         สลายไป

                        ผนังเซลล์มีเซลลูโลสสะสมอยู่ในบริเวณ end wall ทั้งสองข้าง  และมีรูพรุน ท าให้ไซโตพ

                         ลาสซึมภายในผ่านไปมาระหว่างเซลล์ได้ เรียกว่า sieve  plate  ซึ่งมีลักษณะคล้าย
                         plasmodesmata ของเซลล์ทั่วๆ ไป  แต่รูมีขนาดใหญ่กว่า  ไซโตพลาสซึมที่ผ่านรูดังกล่าว

                         นี้มีลักษณะเป็นเส้นสาย หรือแถบยาว เรียกว่า  cytoplasmic thread



                                                                                  รศ. ดร. ลิลลี่  กาวีต๊ะ
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46