Page 39 -
P. 39
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
33
เนื้อเยื่อพืช
เซลล์เมื่อเจริญเต็มที่แล้วจะไม่มีชีวิต โปรโตพลาสสลายไป ท าให้มีช่องว่างขนาดใหญ่ตรง
กลาง
ผนังเซลล์มีทั้ง primary และ secondary wall
2). vessel member มีลักษณะที่ส าคัญ (ภาพที่ 2.9) คือ
เป็นเซลล์เดียวที่ต่อกันยาวเป็นท่อติดต่อกัน เรียกว่า vessel
ผนังเซลล์ด้านหัวและท้ายที่ต่อเชื่อมกันเรียกว่า end wall และมีช่องเปิดติดต่อกันระหว่าง
เซลล์เรียกว่า perforation มีลักษณะแตกต่างกันออกไป ช่องเปิดดังกล่าวท าให้น้ าและแร่
ธาตุสามารถผ่านขึ้นไปสู่ส่วนต่างๆ ของพืชได้สะดวกกว่าการล าเลียงทาง tracheid
ความยาวของ vessel แตกต่างกันโดยพืชบางชนิดอาจมีความยาวถึง 10 ฟุต
เมื่อเจริญเต็มที่แล้วเซลล์จะไม่มีชีวิต และโปรโตพลาสสลายไป
vessel
vessel
vessel
tracheid
tracheid
tracheid
ภาพที่ 2.15 รูปร่างของ ก) tracheid และ ข) vessel member
ผนังเซลล์มีการสะสมสารลิกนิน (lignification) และเกิด secondary wall การสะสมลิกนินบน
ผนังเซลล์ไม่สม่ าเสมอท าให้เกิดเป็นรูที่เรียกว่า pit การหนาของผนังเซลล์มีด้วยกันหลายลักษณะ (ภาพที่
2.16) คือ
- annular thickening มี secondary wall หนามีลักษณะคล้ายวงแหวน
- spiral thickening มี secondary wall หนามีลักษณะเป็นเกลียวคล้ายบันไดเวียนติดต่อกัน
- helical thickening มี secondary wall หนาเป็นชั้นๆ ตามขวางคล้ายขั้นบันไดอย่างมีระเบียบ
- scalariform thickening มี secondary wall หนาเป็นชั้นๆ แต่ไม่เป็นระเบียบ
รศ. ดร. ลิลลี่ กาวีต๊ะ