Page 42 -
P. 42
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
36
โครสร้างพืช
2). companion cell มีลักษณะที่ส าคัญ คือ
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต
อยู่ติดกับ sieve-tube member เสมอ
มีก าเนิดมาจากเซลล์แม่เดียวกับ sieve-tube member
มีรูปร่างผอมยาว เป็นเหลี่ยม และมีขนาดเล็ก
มีโปรโตพลาสที่หนาแน่น เมื่อเจริญเต็มที่แล้วยังคงมีนิวเคลียสที่มีขนาดใหญ่
พืชพวก gymnosperm จะไม่มี companion cell แต่มีเซลล์ที่มีลักษณะคล้ายกัน ซึ่งไม่ได้เกิด
จากเซลล์แม่เดียวกัน เรียกว่า albuminous cell จ านวน companion cell อาจมีมากกว่า 1 เซลล์
เนื่องจากสามารถแบ่งตัวได้ทั้งแนวขวางและแนวยาว
3). phloem parenchyma มีลักษณะที่ส าคัญ คือ
เป็นเซลล์ที่มีชีวิต
เซลล์เรียงตัวกันตามแนวยาว
ผนังเซลล์มีเซลลูโลส และมี simple pit
พืชใบเลี้ยงเดี่ยวส่วนใหญ่มักไม่มี phloem parenchyma ท าหน้าที่สะสมอาหาร ถ้ามีการเรียง
ตัวตามขวางของล าต้น เรียกว่า phloem ray ท าหน้าที่ล าเลียงอาหาร มักมีจ านวนที่น้อยกว่า xylem ray
4). phloem fiber ช่วยเพิ่มความแข็งแรงให้กับท่อล าเลียงอาหาร และมีลักษณะที่ส าคัญ คือ
มีลักษณะทั่วๆ ไปคล้ายกับ fiber
ผนังเซลล์มีการสะสมลิกนิน และมี simple pit
periderm
เป็นเนื้อเยื่อที่เกิดจากการเจริญขั้นที่สองของพืช เกิดแทนที่ epidermis ของพืชที่มีเนื้อไม้
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 ชนิด คือ cork cambium, cork cell และ phelloderm ซึ่ง cork cambium ท า
หน้าที่เป็นเนื้อเยื่อเจริญแบ่งตัวออกไปด้านนอกเป็น cork cell หรือ phellem และแบ่งตัวด้านในให้
phelloderm ผนังเซลล์ของ cork อาจมีซูเบอรินสะสมท าให้ป้องกันอันตรายและการดูดน้ าเข้าไปภายใน
ได้ (ภาพที่ 2.17)
รศ. ดร. ลิลลี่ กาวีต๊ะ