Page 58 -
P. 58
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตัว (ร้อยละ 20 ของโคนมทั้งหมด) โคนมอายุ 1 ปีถึงตั้งท้องครั้งแรกจำานวน
116,802 ตัว (ร้อยละ 23 ของโคนมทั้งหมด) โครีดนม จำานวน 229,899 ตัว
(ร้อยละ 45 ของโคนมทั้งหมด) และโคแห้งนม จำานวน 49,654 ตัว (ร้อย
ละ 10 ของโคนมทั้งหมด)
ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้
200,000
จํานวนโครีดนม (ตัว) 150,000
100,000
50,000
0
2552 2553 2554 2555 2556
ปพุทธศักราช
ภาพที่ 3-1 แนวโน้มการเลี้ยงโคนมในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย
ที่ม�: ดัดแปลงจากกรมปศุสัตว์ (2552, 2553ข, 2554ข, 2555ข, 2556ข)
ลักษณะการเลี้ยงโคนมของเกษตรกรไทยในปัจจุบัน ยังคงมุ่งเน้น
การได้ผลผลิตปริมาณมากโดยใช้ต้นทุนต่ำา ดังนั้นโคนมที่ถูกคัดเลือกหรือใช้
ประโยชน์ในฟาร์มของเกษตรกร จึงเป็นโคนมที่มีความสามารถในการให้ผลผลิต
หรือผลกำาไรสูง มีประสิทธิภาพการสืบพันธุ์ดี และสามารถปรับตัวเข้ากับ
สภาพแวดล้อมได้ง่าย นอกจากนี้ ด้วยราคาของปัจจัยการผลิตที่เพิ่มสูงขึ้น
การเลี้ยงโคนมจำานวนน้อยตัวอาจได้รายได้ไม่คุ้มต่อเงินที่ได้ลงทุนไป
เกษตรกรส่วนใหญ่จึงมีแนวโน้มในการขยายขนาดฟาร์มโคนมของตนเองเพิ่ม
มากขึ้น แต่ด้วยปัญหาการขาดแคลนแรงงานคุณภาพในปัจจุบัน เกษตรกรผู้
เลี้ยงโคนมจึงจำาเป็นต้องเพิ่มพูนความรู้ และพัฒนาความสามารถในการนำา
40