Page 53 -
P. 53

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                       บทที่ 3


              ง�นวิจัยด้�นโคเนื้อและโคนมของมห�วิทย�ลัยเกษตรศ�สตร์





                     การศึกษาข้อมูลทั่วไปที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยโคเนื้อและโคนม
            ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในบทนี้พิจารณาถึงความสำาคัญและที่มา
            ของโครงการ  และโครงสร้างของงานวิจัย  ซึ่งประกอบด้วย  ประเภทของ

            งานวิจัยและวัตถุประสงค์ของงานวิจัย




            3.1 คว�มสำ�คัญของก�รศึกษ�

                     ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักของคนไทย

            ส่วนใหญ่  ในอดีตที่ผ่านมาเกษตรกรไทยมักเลี้ยงโคไว้ภายในบริเวณบ้านเพื่อ
            การใช้แรงงานและประโยชน์ในด้านอื่นๆ เช่น ไถนา นวดข้าว เทียมเกวียน
            กำาจัดวัชพืช เป็นอาหารในช่วงเทศกาล หรือเก็บไว้เสมือนเป็นเงินออมที่มี

            ชีวิตสำาหรับยามฉุกเฉิน  เป็นต้น  ต่อมาเมื่อสถานการณ์ทางเศรษฐกิจและ
            สังคมเปลี่ยนแปลง  เกษตรกรเริ่มใช้เทคโนโลยีและเครื่องจักรทดแทนการใช้

            แรงงานโคมากขึ้น  การเลี้ยงโคเพื่อใช้เป็นแรงงานในภาคการเกษตรจึงลด
            จำานวนลง อย่างไรก็ตามด้วยคนไทยทราบถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการบริโภค
            เนื้อและนมโคมากขึ้น  วัฒนธรรมและค่านิยมในการบริโภคเนื้อโค  โคนม

            และผลิตภัณฑ์ได้แพร่ขยายในกลุ่มผู้บริโภคที่เป็นนักท่องเที่ยวและคนไทย
            มากขึ้น นักวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สถาบันการศึกษาอื่นๆ

            และหน่วยงานภาครัฐให้ความสนใจและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเนื้อและ
            นมโคที่มีประสิทธิภาพและได้ผลกำาไรมากขึ้น ความรู้และเทคโนโลยีดังกล่าว
            ได้รับการถ่ายทอดสู่เกษตรกรและผู้สนใจอย่างต่อเนื่องในทุกภูมิภาคของ





                                                                             35
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58