Page 52 -
P. 52
งานวิจัยที่มีมูลค่าในตลาด และ 2) งานวิจัยที่สร้างผลประโยชน์ทางอ้อม
บทที่ 3
หรือเป็นกลุ่มงานวิจัยที่ไม่ได้มีมูลค่าในตลาดโดยตรง ซึ่งเมื่อมีการประเมิน
ผลประโยชน์จากงานวิจัยทั้งหมดแล้ว ผลลัพธ์จากการศึกษาในครั้งนี้
งานวิจัยด้านไก่ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จะสะท้อนให้เห็นถึงมูลค่าผลประโยชน์โดยรวมจากการสร้างสรรค์งานวิจัย
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 3.1 ความสำคัญของการศึกษา
ด้านเกษตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งกรอบแนวคิดของการศึกษา
สามารถแสดงเป็นแผนภาพที่ 2-5 ได้ดังนี้ รายงานวิจัยบทนี้ได้ทำการรวบรวมและศึกษาผลงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้องกับสินค้าด้านการเกษตรประเภทไก่ โดยมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก่อตั้ง
เมื่อปี พ.ศ. 2486 เกษตรศาสตร์นับเป็นสถาบันสำคัญแห่งแรกของประเทศที่ริเริ่มสร้าง
องค์ความรู้ด้านการเลี้ยงไก่ ซึ่งมีความโดดเด่นมาตั้งแต่สมัยของหลวง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2486 สุวรรณวาจกกสิกิจจนได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งอาชีพการเลี้ยงไก่
งานวิจัยด้านการเกษตร พืช สัตว์ และ
ประมง ในประเทศไทย ผลงานและการสร้างองค์ความรู้ของท่านหลวงสุวรรณ
วาจกกสิกิจเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับทั้งในระดับประเทศ
ผลประโยชน์จากงานวิจัยต่อเศรษฐกิจและ และนานาชาติ ดังรายละเอียดที่ได้รวบรวมและเผยแพร่เป็นหนังสือไว้
งานวิจัยด้านเกษตร: พืช สัตว์ และประมง
สังคม การผลิต การบริโภค สังคมและ
สิ่งแวดล้อม เมื่อครั้งครบรอบหกสิบปีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (อัจฉรา
ผลประโยชน์จากงานวิจัยต่อเศรษฐกิจและสังคม และคณะ, 2546) จึงอาจกล่าวได้ว่า ยุคของหลวงสุวรรณฯ เป็นยุคเริ่มต้น
การผลิต การบริโภค สังคมและสิ่งแวดล้อม
และยุคเฟื่องฟูของการสร้างองค์ความรู้ พัฒนาบุคลากรและการนำ
การประเมินผลประโยชน์งานวิจัย
วิทยาการที่ทันสมัยจากต่างประเทศมาช่วยพัฒนาอาชีพเลี้ยงไก่ในประเทศ
ไทย ซึ่งเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนางานวิจัยด้านไก่ในยุคต่อๆ
การประเมินผลประโยชน์งานวิจัย
การประเมินผลประโยชน์ทางอ้อม : มูลค่า การประเมินผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ : มาของประเทศไทย
จากการใช้/ไม่ได้ประโยชน์มูลค่าเผื่อที่จะใช้ ส่วนเกินทางเศรษฐกิจ : ส่วนเกินผู้ผลิตและ
ผู้บริโภค
การประเมินผลประโยชน์ทางอ้อม: มูลค่าจากการใช้/ การประเมินผลประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ: ส่วนเกินทาง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย
ประโยชน์
ไม่ได้ประโยชน์มูลค่าเผื่อที่จะใช้ประโยชน์ เศรษฐกิจ: ส่วนเกินผู้ผลิตและผู้บริโภค
และพัฒนาด้านไก่มาอย่างต่อเนื่อง โดยมีหน่วยงานวิจัยที่มีบทบาทสำคัญ
ผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์จากงานวิจัยรณีอ้อย อาทิ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร และศูนย์วิจัยและพัฒนาการผลิต
ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ผลประโยชน์ทางเศรษฐศาสตร์จากงานวิจัยกรณีอ้อยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สัตว์ปีก สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจ เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาปศุสัตว์
และผลิตภัณฑ์สัตว์ กำแพงแสน เป็นหน่วยงานหลักที่ดำเนินการวิจัย
ภาพที่ 2-5 กรอบแนวคิดการวิจัย ด้านไก่ ด้วยความพร้อมด้านบุคลากรที่มีคุณภาพและความทุ่มเทให้กับ
34 35
34