Page 44 -
P. 44

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






               2.6 คุณลักษณะของชองสัญญาณ (Channel Characteristics)


               ผลกระทบจากการเลือนของสัญญาณสเกลเล็กนั้น  นอกจากทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับสัญญาณอยาง
               รวดเร็วแลวสัญญาณที่รับไดยังเกิดการแพรออกทั้งทางเวลาและความถี่ไดดวย  ความสัมพันธระหวางความถี่
               ของคลื่นสัญญาณ  อัตราเร็วขอมูล  ความเร็วในการเคลื่อนที่  กับสภาพแวดลอมของชองสัญญาณไรสาย  จะ
               สงผลตอคุณลักษณะของชองสัญญาณ       ในหัวขอนี้เราจะพิจารณาผลกระทบจากการแพรกระจายทางเวลา

               (Time Dispersion)  และการแพรกระจายทางความถี่  (Frequency Dispersion)  ที่มีตอคุณลักษณะของ
               ชองสัญญาณ ซึ่งมีผลตอการออกแบบเทคนิคที่ใชในภาครับและภาคสงของระบบสื่อสารไรสาย

                       1)  การแพรกระจายทางเวลา (Time Dispersion):  การเกิด multipath ในชองสัญญาณไรสาย
                          ทําใหสัญญาณที่รับไดมีชวง  (duration)  ของสัญญาณนานกวาที่สงมา  ดังแสดงตัวอยางในรูปที่
                          2-23  การแพรกระจายของสัญญาณทางเวลาในลักษณะนี้  ทําใหเกิดการสอดแทรกระหวาง

                          สัญลักษณ  (Inter-symbol Interference: ISI)  ขึ้นทางภาครับ  ซึ่งทําใหขอมูลที่รับมาเกิดความ
                          ผิดพลาดเสียหายได ถาหาก ISI ที่เกิดขึ้นมีความรุนแรง ภาครับจําเปนตองมีวงจรที่ปรับแกเพื่อลด
                          ผลกระทบดังกลาว เชน Equalizer ซึ่งจะกลาวถึงในบทที่ 6


















                      รูปที่ 2-23 (a) พัลสที่สงมากจากภาคสง (b) การเดินทางของสัญญาณมาหลายเสนทาง (multipath)
                                      ทําใหผลรวมของพัลสที่รับไดแผออก (Shankar, 2002)


                          การแพรออกของสัญญาณทางเวลาสามารถระบุไดจากคา Delay Spread,σ  ซึ่งหาไดจาก
                                                                                         d
                                                                         2
                                                         σ =     τ 2  −  τ
                                                           d
                                      N                   N
                                     ∑   pτ i            ∑  p τ i 2
                                                              i
                                          i
                          โดยที่  τ  =  = i 1 N   และ  τ 2  =  = i 1 N   เมื่อ  p  จะแทนกําลังงานที่เขามาตามเสนทางที่
                                                                        i
                                      ∑  p i              ∑   p i
                                       = i 1               = i 1
                          i และ τ  เปนเวลาหนวง (Delay) ของสวนประกอบที่ i
                                  i














                                                                                                   หนา 37
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49