Page 42 -
P. 42
∞
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เมื่อ K = −∞ จะเปนแบบไมมีเสนทางในแนวสายตาและการกระจายแบบ Rician จะกลายเปน
แบบ Rayleigh เมื่อคา K สูงขึ้นเรื่อยๆ การกระจายแบบ Rician จะใกลเคียงกับแบบ
Gaussian ดังแสดงในรูปที่ 2-20 การเปรียบเทียบสภาวะการเลือนของสัญญาณของ Rayleigh
และ Rician Distribution แสดงในรูปที่ 2-21
รูปที่ 2-20 การกระจายแบบ Rician สําหรับคา K (dB) ตางๆ (Shankar, 2002)
(no Direct Path)
(contains a Direct Path)
รูปที่ 2-21 ลักษณะการเลือนของสัญญาณแบบ (a) Rayleigh และ (b) Rician (Shankar, 2002)
3) การกระจายแบบ Nakagami: กรณีที่สัญญาณแตละเสนทางไมเปนอิสระตอกัน และไมไดมี
รูปแบบการกระจายแบบเดียวกันเชนในกรณีของ Rayleigh/Rician distribution แบบจําลอง
หนึ่งที่สามารถอธิบายลักษณะการกระจายของสัญญาณที่รับไดคือ Nakagami ซึ่งมีฟงกชันความ
หนาแนนความนาจะเปนของ envelope สัญญาณในรูป
2
2m m a 2m− 1 ma
f A (a ) = Γ (m )Ω m exp− Ω U (a )
หนา 35