Page 38 -
P. 38

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






                       ถาหากเราพิจารณาลักษณะสัญญาณในระยะใกลขึ้นอีกโดยตรวจจับกําลังงานที่ระยะไมกี่รอยเมตรดัง

               แสดงในรูปที่ 2-17  (c)  จะพบวากําลังงานมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ซึ่งเกิดจากการที่สัญญาณเดินทาง
               มาถึงเครื่องรับหลายเสนทาง (multipath) สัญญาณแตละเสนทางเมื่อมาถึงเครื่องรับจะเกิดการรวมหรือ
               หักลางกัน ทําใหเฟสรวมของสัญญาณเกิดการเปลี่ยนแปลงไดอยางรวดเร็วแมจะเคลื่อนที่เพียงระยะสั้น ๆ  ดัง

               แสดงในรูปที่ 2-18 เราเรียกปรากฏการณเชนนี้วาการเลือนของสัญญาณระยะสั้น (short-term fading) หรือ
               การเลือนของสัญญาณแบบสเกลเล็ก (small-scale fading) ซึ่งสามารถอธิบายไดดวยแบบจําลองทางสถิติเชน

               การกระจายแบบ Rayleigh  หรือ Rician  เปนตน small-scale fading  นี้นอกจากจะสงผลกระทบตอการ
               เปลี่ยนแปลงของระดับสัญญาณอยางรวดเร็วแลว ยังมีผลตอคุณลักษณะของสัญญาณทางเวลาและทางความถี่
               ดวย กลาวคือจะทําใหเกิดการแผออกของสัญญาณ (dispersion) ทางเวลาและความถี่ ซึ่งเปนผลตอสมรรถนะ
               การทํางานของเครื่องรับ เรานําผลกระทบนี้มาใชพิจารณาประกอบการออกแบบอุปกรณและเทคนิคที่ใชทาง
               ภาครับและภาคสงของระบบ
































                   รูปที่ 2-18 การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณหลายเสนทางที่ระยะตาง ๆ เนื่องจากการรวมและหักลางกัน

                                                     (Shankar, 2002)


                     การศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณ  ชวยใหเราสามารถอธิบายลักษณะของชองสัญญาณไร
               สายที่เปลี่ยนแปลงตามเวลาได  ซึ่งเปนประโยชนในการออกแบบระบบ  เชน  กําลังสง  รัศมีครอบคลุม  และ
               จํานวนชองสัญญาณ  รวมทั้งการเลือกเทคนิคที่ใชทางภาคสงและภาครับอยางเหมาะสม  เพื่อรองรับผลกระทบ
               จากการเลือนของสัญญาณที่เกิดขึ้นในระบบไดอยางมีประสิทธิภาพ














                                                                                                   หนา 31
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43