Page 41 -
P. 41
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
a a
2
f (a ) = exp− 2 U (a )
A
σ 2 2σ
และ
1 p
f ( ) p = exp− U ( ) p
P
2σ 2 2σ 2
สังเกตวากําลังของสัญญาณที่มีการกระจายแบบ Rayleigh จะมีการกระจายแบบ Exponential
โดยมีคาเฉลี่ยกําลังที่ 2σ และเราสามารถหาความนาจะเปนที่ระบบจะลมเหลวไดจาก
2
−
dp
P out = ∫ 0 p thr f (p )dp = ∫ 0 p thr p 1 0 exp p p 0 =1 − exp − p p thr
0
รูปที่ 2-19 ฟงกชันความหนาแนนความนาจะเปนของ envelope ของสัญญาณทางภาครับ (Rayleigh)
และกําลังงานของสัญญาณทางภาครับ (Exponential) (Shankar, 2002)
2) การกระจายแบบ Rician: ในกรณีที่เสนทางที่มาถึงภาครับมีเสนทางที่เปนทิศทางตรงรวมอยูดวย
(IID Multipath + LOS) สัญญาณที่รับไดจะมีการกระจายแบบ Rician โดยมีฟงกชันความ
หนาแนนความนาจะเปนของ envelope สัญญาณเปน
a a 2 + A 2 aA
f A (a ) = σ 2 exp − 2σ 2 0 I 2 0
0
σ
โดยที่ (.)I 0 เปน Modified Bessel function และ A เปนสวนประกอบที่เกิดจากสัญญาณใน
0
แนวสายตา (LOS) probability density function ของ Rician จะมักจะแสดงอยูในรูป
อัตราสวนของกําลังงานสวนประกอบในแนวสายตากับกําลังงานสวนประกอบที่กระจัดกระจาย
(diffuse component) K (dB )
A 2
K (dB ) =10 log 10 0
2σ 2
หนา 34