Page 40 -
P. 40

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี






                       นอกจากนั้น ในระบบเซลลูลารยังมีการนําลักษณะของ Lognormal Shadowing มาคํานวณหาพื้นที่
               ครอบคลุมของเซลล (Cell Coverage Area: C) ที่รัศมีการใหบริการ (R) หนึ่ง ๆ (หรือเรียกวา Availability)

               ซึ่งเปนสัดสวนพื้นที่ในเซลลที่คากําลังสัญญาณที่รับไดมากกวาคาขีดแบง  (threshold)  ที่กําหนด  ถา  P
                                                                                                       cell
                                                                                                       out
               แทนสัดสวนพื้นที่ซึ่งเกิด outage ในเซลล จะไดวา

                                                                − ab      − ab  
                                                                            2
                                                                    2
                                                                2
                                           cell
                                      1 − P out  = C  = Q( a) + exp    Q       
                                                                 b 2       b   
                          P −  P ( )       10 ν log ( ) e
                                  R
               เมื่อ     a =  thr  r  ,  b =           โดยที่เราสามารถหาคา R ไดจากสมการ
                             σ dB             σ dB
                                                                          R  
                                           L p  = 10 log [L p ( )]+10ν log   
                                                          d
                                                                             
                                                                        
                                                           ref
                                                                         d ref  
                          P  (mW )
               เมื่อ  L =  P T  (mW )    แทนการสูญเสียตามระยะทางสูงสุด  (Maximum tolerable path loss)  ที่คา
                      p
                           thr
               threshold ที่กําหนด





               2.5.2 การเลือนของสัญญาณระยะสั้น (Short-Term Fading)



               นอกจากการเกิด Lognormal Shadowing จากสภาพแวดลอมที่ทําใหกําลังสัญญาณเกิดการเปลี่ยนแปลงจาก
               คาเฉลี่ยอยางชา ๆ แลว การเดินทางของสัญญาณหลายเสนทาง (Multipath) ยังทําใหเกิดการเลือนของ

               สัญญาณแบบระยะสั้น หรือ แบบสเกลเล็ก คือทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของระดับสัญญาณอยางรวดเร็วใน
               ระยะทางสั้น ๆ และมีการแพรออกของสัญญาณทั้งในทางเวลาและความถี่ (Time/Frequency Dispersion)
               ในสวนนี้ เราจะศึกษาผลกระทบของการเลือนของสัญญาณระยะสั้นตอระดับกําลังของสัญญาณที่รับได ใน

               รูปแบบการกระจายทางสถิติแบบตาง ๆ โดยผลกระทบตอคุณลักษณะของชองสัญญาณที่เกิดจากการแพรออก
               ของสัญญาณทางเวลาและความถี่จะแยกศึกษาในหัวขอถัดไป

                       รูปแบบการกระจายของระดับสัญญาณที่รับไดทางภาครับเนื่องจากผลของ  Multipath  นั้นขึ้นกับ
               เสนทางของคลื่นที่เดินทางมาถึงภาครับซึ่งแบงไดเปนรูปแบบตาง ๆ ดังตอไปนี้

                       1)  การกระจายแบบ Rayleigh: กรณีซึ่งสัญญาณแตละเสนทางที่มาถึงภาครับ มีลักษณะเหมือนกัน
                          (Identical)  และเปนอิสระตอกัน  (Independent)  โดยไมมีเสนทางที่เปนการแพรกระจายแบบ

                          ทิศทางตรง (IID NLOS Multipath) สัญญาณที่มาถึงทางภาครับซึ่งเปนผลรวมของแตละเสนทาง
                          นั้นจะมีการกระจายแบบ Rayleigh เมื่อให A แทน Envelope ของสัญญาณที่รับได และ P แทน
                          กําลังของสัญญาณที่รับได ในกรณีของ Rayleigh distribution จะไดวา









                                                                                                   หนา 33
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45