Page 45 -
P. 45
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ความรุนแรงของการแพรกระจายทางเวลา สามารถวิเคราะหไดจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะแถบ
ความถี่ของชองสัญญาณ โดยการคํานวณหาชวงแถบความถี่ของชองสัญญาณที่มีการตอบสนองเหมือนกัน
(สวนประกอบความถี่ในแถบดังกลาวมีความสัมพันธกันมาก: Strong correlation) ซึ่งเรียกวาแถบความถี่
สอดคลอง (Coherence Bandwidth, B ) สําหรับกรณีที่คาสหสัมพันธุของสวนประกอบความถี่ในชวง B c
c
มากกวา 0.5 จะไดวา
1
B ≈ 5 σ
c
d
ในกรณีที่แบนดวิดธของสัญญาณ B มีคานอยกวา B การเกิด ISI จะไมรุนแรง เราเรียกกรณีนี้วา
c
s
การเลือนของสัญญาณแบบราบ หรือ “Flat Fading” แตถาหาก B มากกวา B การเกิด ISI จะสงผล
c
s
กระทบรุนแรงตอสัญญาณที่สงมา อันเนื่องจากผลตอบสนองความถี่ของชองสัญญาณจะแตกตางกันสําหรับ
สวนประกอบที่อยูในและนอกชวง Coherence bandwidth, B เราเรียกชองสัญญาณที่มีลักษณะดังกลาววา
c
“Frequency Selective Fading”
รูปที่ 2-24 เปรียบเทียบลักษณะ Coherence Bandwidth ของชองสัญญาณแบบ
Flat (ซาย) และ Frequency Selective (ขวา) (Shankar, 2002)
2) การแพรกระจายทางความถี่ (Frequency Dispersion): การเคลื่อนที่ของเครื่องรับสงใน
ชองสัญญาณไรสาย ทําใหสัญญาณเกิดการแพรออกทางความถี่ โดยคา Doppler Shift ที่มาก
ที่สุด, f สามารถคํานวณไดจาก
d
v
f = f
0
d
c
8
โดยที่ c เปนอัตราเร็วของคลื่นแมเหล็กไฟฟาใน Free space 3×10 m/s และ v แทนความเร็ว
ในการเคลื่อนที่ ความถี่ขณะใดขณะหนึ่ง f = f + f d cos(θ i )
0
in
หนา 38