Page 169 -
P. 169

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 160


                                                                            2
                                                                   2
                                                     F (u ) =  [ ( (uR  ) ] [ (uI+  ) ] )  2 / 1                         (6.10)


                                                                  ⎡ (uI  ⎤ )
                                                      φ (u )  = tan −1 ⎢  ⎥
                                                                  ⎣ R (u ) ⎦                                     (6.11)


                          โดย R(u) และ I(u) เปนคาจริงและคาเชิงซอนของ F(u)  และเราสามารถเขียน F(u)

                          ในพิกัดโพลารไดเปน



                                                     F (u ) =  F (u ) e −  jφ (u )


                          คาสําคัญที่อีกคาหนึ่งคือ คากําลังของสเปคตรัม (power spectrum) ซึ่งคือ คายกกําลัง

                          สองของขนาดของสเปคตรัมสามารถหาไดดวยสมการที่ 6.12


                                                         2
                                                                  2
                                            P (u ) =  F (u ) =  [ (uR  ) ] [ (uI+  ] )  2                               (6.12)


                          เมื่อนําคา  P(u)  ที่ไดมาพลอตที่ความถี่ตางๆกัน  จะไดกราฟแสดงใหเห็นถึงความ

                          หนาแนนของสเปคตรัมที่กําลังสนใจ กราฟของคากําลังของสเปคตรัมนี้มักถูกเรียกวา
                          power spectral density (PSD) ในหลายๆ กรณีกราฟ PSD ที่พบจะเปนกราฟระหวาง

                          คาความถี่ u กับคาสัมบูรณของขนาดของสเปคตรัม (|F(u)|) ดังแสดงในภาพที่ 6.2




                          6.2.2  การแปลงฟูริเยรแบบรวดเร็ว (Fast Fourier Transform- FFT)


                          การเขียนโปรแกรมสําหรับการแปลงฟูริเยรของสัญญาณขนาด  N  จุดดวยสมการที่

                                                                         2
                          6.8 นั้น เวลาที่ใชในการคํานวณจะแปรผันตรงกับคา N  ทําใหการแปลงสัญญาณทํา
                          ไดชาเมื่อ  N  มีคามาก  จึงไดมีการพัฒนาอัลกอริธึมที่สามารถแปลงฟูริเยรไดรวดเร็ว
                          ขึ้นและตั้งชื่อใหวา การแปลงฟูริเยรอยางรวดเร็ว (Fast Fourier Transform-FFT) การ
   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174