Page 165 -
P. 165

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 156

                          สัญญาณจริง ตัวอยางเชน สัญญาณคาบพลัสหรือสัญญาณสี่เหลี่ยมที่ขนาดเทากับ A มี

                          ชวงพลัสอยูระหวาง  –c/2  ถึง  c/2  และมีคาบเทากับ  T   ดังแสดงในภาพที่ 6.3(ก)
                                                                          0
                          สัญญาณสี่เหลี่ยมนี้สามารถเขียนใหอยูในรูปของอนุกรมฟูริเยรไดดวยสมการที่ 6.3



                                                   A  sin( mfπ  ) c
                                           f  ) (t =         0  ,     m  = 1,0  2 ,  ,..., ∞                      (6.3)
                                                  T 0   π   0
                                                         mf



                          โดยคา sin( nfπ  0  ) c    เปนสัญญาณที่มีลักษณะเฉพาะแสดงตามรูปที่ 6.3(ข)  และเรียก
                                   π   0
                                    nf
                          สัญญาณหรือฟงกชันนี้วาฟงกชันซิงค (sinc function)  สัญญาณนนี้มีสมการทั่วไป
                          เปน   sinc( λ) =  sin( πλ)  λ /   เราจะเห็นวาสัญญาณคาบพลัสจะประกอบไปดวย

                          สัญญาณไซนที่มีคาความถี่ถึงอนันต    แตเมื่อทําการประมาณสัญญาณพลัสจาก

                          สัญญาณลิงคจํานวน 3 และ 6 เทอม พบวาสัญญาณที่ประมาณไดมีลักษณะใกลเคียง
                          กับสัญญาณพลัสมาก ดังแสดงในภาพที่ 6.4(ก) และ 6.4(ข) ตามลําดับ การประมาณ

                          สัญญาณดวยอนุกรมฟูริเยรสามารถนําไปประยุกตใชในการรูจําได  โดยพิจารณาจาก

                          องคประกอบความถี่หลักของสัญญาณนั้นๆ  การประยุกตใชงานดังกลาวจะทําไดเมื่อ
                          ภาพที่ตองการรูจํานั้นมีองคประกอบความถี่หลักแตกตางจากองคประกอบความถี่

                          หลักของภาพอื่นๆ ในฐานขอมูล การรูจําจึงทําไดโดยการเปรียบเทียบคาสัมประสิทธิ์

                          ของภาพในโดเมนความถี่


                                          A                                                Af 0c





                                         -c/2      0  c/2   T                          0
                                                                                    -1/c    1/c

                                    รูปที่ 6.3 สัญญาณพลัสใน (ก) โดเมนเวลา, (ข) โดเมนความถี่
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170