Page 164 -
P. 164

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                                                                                                       155

                                   ดวยคลื่นความถี่หลักสามคลื่นความถี่ที่ขนาดตาง  ๆ  กัน  ทําใหเราสามารถวิเคราะห

                                   และประมวลผลสัญญาณนี้ไดงายในโดเมนความถี่  เชน  สามารถออแบบตัวกรอง
                                   ความถี่สูงที่เหมาะสมใหกับสัญญาณดังกลาวไดงาย เปนตน



                                   เทคนิคการกระจายหรือแยกฟงกชันคาบใดๆ  ใหอยูในรูปผลบวกของฟงกชันไซน

                                   และโคไซนจะเรียกวา อนุกรมฟูริเยร อนุกรมนี้จะมีตัวแปรสําคัญอยูสองตัวคือขนาด
                                   และความถี่ของคลื่นที่ประกอบขึ้นเปนสัญญาณที่ทําการวิเคราะห   การหาขนาดและ

                                   ความถี่ตางๆของสัญญาณคาบ f(t) ที่มีคาคาบเทากับ T มีความถี่เทากับ f =1/T และมี
                                                                                               r
                                   ความถี่เชิงมุม ω =  2  f π  อนุกรมฟูริเยรของฟงกชัน f(t) สามารถเขียนไดดังนี้
                                                       r

                                                              ∞
                                                                                         t
                                                  f (t )  = a 0  + ∑ [a m  cos(mω ) t  + b m  sin(mω )]
                                                             m =1
                                                            1  T
                                                       a 0  =  ∫  f  (t )dt ,
                                   โดย                                 T  0

                                                             2  T
                                                       a m  =  ∫  f  (t ) cos(mω t )dt ,
                                                                           T  0           m = 1,2,3,…

                                                            2  T
                                                       b m  =  ∫  f  (t ) sin(mω t )dt ,
                                   และ                                T  0                m = 1,2,3,…           (6.2)



                                   คาสัมประสิทธิ์  a   และ  b   เปนขนาดของสัญญาณ  เปนคาน้ําหนักที่แสดงถึง
                                                   m
                                                             m
                                   ความสําคัญของคลื่นความถี่ตางๆที่ประกอบกันขึ้นเปนสัญญาณนั้นๆ  โดยขนาดยิ่ง
                                   มากความสําคัญของคลื่นความถี่นั้นยิ่งมีคามาก จากสมการที่ 6.2 เราจะเห็นวาอนุกรม

                                   ฟูริเยรแยกองคประกอบของสัญญาณเปน m องคประกอบ โดย m เปนเลขจํานวนเต็ม

                                   เริ่มตนที่คาเทากับ 1  ไปถึงคาอนันต  แตในทางปฏิบัติ  พบวาสัญญาณทั่วไปหลาย
                                   สัญญาณมีคา m ที่จํากัด คา m เปนคาเล็กๆ และยังพบวาสัญญาณที่แยกประกอบได

                                   เปนคลื่นไซนและโคไซนที่มีคา  m  เขาสูอนันตนั้น  เราสามารถประมาณสัญญาณ

                                   ดังกลาวไดดวยคา  m  เพียงไมกี่คา  สัญญาณที่ประมาณไดจะมีลักษณะใกลเคียงกับ
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169