Page 163 -
P. 163

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 154

                          สัญญาณการเตนของหัวใจที่สัญญาณประกอบไปดวยความถี่ในยานที่จํากัด  ทําให

                          การวิเคราะหสัญญาณเหลานี้ในโดเมนความถี่ทําไดดี เปนตน


                    6.1     บทนํา


                          นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศสชื่อ Jean Baptiste Joseph Fourier คนพบทฤษฎีเกี่ยวกับ

                          ความสัมพันธระหวางสัญญาณกับคลื่นความถี่ตางๆ  โดยพบหลักสําคัญที่วาสัญญาณ

                          คาบ (periodic signal) ใด ๆ เชน สัญญาณพลัส สัญญาณไซน เกิดจากการรวมกันของ
                          สัญญาณพื้นฐาน (basis)  สองสัญญาณคือ  สัญญาณไซนและโคไซนที่ความถี่และ

                          ขนาดตางๆ กัน เชน สัญญาณในรูปที่ 6.1 เปนสัญญาณในโดเมนเวลาที่เกิดจากการ

                          รวมตัวกันของสัญญาณไซนและโคไซนที่ความถี่หลัก 3 ความถี่ คือ 20 50 และ 120
                          เฮิทซ โดยแตละความถี่มีคาสัมประสิทธิ์หรือขนาดตามสมการที่ 6.1



                                  f  (t ) =  7 . 0  sin( 2π 20t ) +  4 . 0  sin( 2π 50t ) +  9 . 0  cos( 2π 120t )
                                                                                                   (6.1)
















                             รูปที่ 6.1 สัญญาณคาบในโดเมนเวลา          รูปที่ 6.2 หลังผานการแปลงสัญญาณ
                                                                                                          ดวยตัว แปลงฟูริเยร



                          เมื่อทําการพลอตกราฟของสัญญาณดังกลาวในโดเมนเวลา  ตามแสดงในรูปที่ 6.1

                          กราฟที่ไดดูสับสน  ไมมีความหมายนัก  การวิเคราะหสัญญาณในโดเมนเวลาจึงทําได

                          ยาก  แตเมื่อแปลงสัญญาณดังกลาวใหอยูในโดเมนความถี่ดวยการแปลงฟูริเยร  สัญ-
                          ญาณกราฟที่ไดแสดงในรูปที่ 6.2 จากกราฟจะเห็นไดวาสัญญาณดังกลาวประกอบไป
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168