Page 171 -
P. 171

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 162




































                          รูปที่ 6.6 สัญญาณสี่เหลี่ยมและสเปคตรัมที่ไดจากการทํา FFT และ FFT ตามดวย

                          คําสั่ง fftshift(.)




                          ตัวอยางถัดไปแสดงตัวอยางการพลอตกราฟพื้นฐาน คือการพล็อตสัญญาณพลัส
                          สี่เหลี่ยมตามรูป 6.6(ก) โดยสเปคตรัมของสัญญาณพลัสสี่เหลี่ยมนี้จะอยูในรูปของ

                          สัญญาณซิงค ตามรูปที่ 6.6(ค) หลังการทํา FFT คาผลลัพธที่ไดจากทํา FFT ของ

                          สัญญาณใดๆดวยคําสั่ง fft(.) จะใหคาความถี่ศูนยอยูที่ตําแหนงซายสุดเปนคาแรกของ

                          กราฟที่ไดตามรูป 6.6(ข) แตเปนที่นิยมที่จะทําการพล็อตคาสเปคตรัมที่ไดให
                          คาความถี่ศูนยอยูตรงกลางภาพ ซึ่งสามารถทําการเลื่อนตําแหนงศูนยนี้ไดดวยคําสั่ง

                          fftshift(.) โปรแกรมสําหรับการหาและแสดงคา FFT ของสัญญาณพลัสเปนดังนี้


                             >> N = 256;          % จํานวนจุดในการสุมตัวอยาง

                             >> mtime = [-N:N];  % กําหนดจุดที่จะทําการสุมตัวอยาง
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176