Page 175 -
P. 175

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี







                 166

                          คูการแปลงฟูริเยรที่พบในหนังสือเลมอื่น  ๆ  นั้นอาจมีลักษณะแตกตางจากคูสมการที่

                          6.15 และ 6.16 ได โดยแตละแบบจะตางกันที่ตัวคูณ 1/MN โดยตัวคูณ 1/MN สามารถ
                          ไปปรากฏในสมการที่ 6.15 แทนได หรืออาจพบตัวคูณ 1/√MN ที่สมการ 6.15 และ

                          6.16 แทนก็ได หลักสําคัญของการเปลี่ยนแปลงคือ ตัวคูณของทั้งสองสมการจะตองมี

                          คาเทากับ 1/MN ทั้งนี้เนื่องจากหลังการแปลงฟูริเยรและการแปลงกลับฟูริเยร ผลลัพธ

                          ที่ไดจะมีขนาดใหญขึ้น MN เทา ทําใหตองหารคาทิ้งดวยคา MN ที่ใดที่หนึ่งในการทํา

                          ฟูริเยร


                          เมื่อพิจารณาสมการที่ 6.15 จะเห็นวาการคํานวณคา F(u,v) สําหรับแตละคา (u,v) การ

                          คํานวณจะตองใชทุก  ๆ  คาของคา  f(x,y)  ภายในภาพ  การคํานวณฟูริเยรสองมิติจาก
                          สมการโดยตรงจึงใชเวลานานมาก  ในทางปฎิบัติจะคํานวณในรูปของการแปลงฟูริ

                          เยรแบบรวดเร็วหรือการทํา FFT แทน สําหรับการทํา FFT สองมิติใน MATLAB ทํา

                          ไดดวยการเรียกใชคําสั่ง fft2(.) และเรียกใชคําสั่ง ifft2(.) สําหรับการทําฟูริเยรผกผัน
                          และในทํานองเดียวกันกับที่ไดกลาวไวในหวขอ 6.2.2  การทํา FFT  จะทําใหคา

                          สเปคตรัมที่ไดมีลักษณะหลังชนหลัง  คา FFT  ความถี่สูงของภาพจะแสดงอยูบริเวณ

                          กลางภาพและความถี่ต่ําจะอยูที่มุมทั้งสี่ของภาพ  การเลื่อนหคา FFT  ความถี่ต่ํามาอยู
                          บริเวณกลางภาพทําไดดวยคําสั่ง fftshift(.)   เมื่อตองการแปลงผกผันคาฟูริเยรจะใช

                          คําสั่ง ifft2(.) ซึ่งคาที่ไดจากการแปลงกลับโดยทั่วไปจะเปนเลขจํานวนเชิงซอนที่มีคา

                          จินตภาพที่ต่ํามาก  ทั้งนี้เนื่องจากภาพอิมเมมีคาความเขมแสงเปนเลขจํานวนจริงบวก

                          เทานั้น  จึงอาจตองใชคําสั่ง real(ifft2(.)  เพื่อดึงคาจํานวนจริงที่คํานวณไดออกมา
                          คําสั่งดานลางเปนตัวอยางคําสั่งการแปลงฟูริเยรของภาพที่มีสัญญาณพลัสสองมิติอยู

                          บริเวณกลางภาพดังแสดงในรูปที่ 6.8(ก)  ผลการทํา FFT  และการทํา FFT  ตามดวย

                          คําสั่ง fftshift(.)แสดงในรูปที่ 6.8(ข) และ 6.8(ค) ตามลําดับ


                             . >> im = zeros(128, 128);%สรางภาพพลัสสองมิติกลางภาพขนาด 128×128
                             >> im(33:64, 32:64) = 1;

                             >> f_im = fft2(im);                %ทํา FFT
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180